กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ข้อที่ 1เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ ๘๐ ของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และฝึกทักษะการแปรงฟันและควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ 2. ร้อยละ 8๐ ของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจทั้งปาก ได้รับบริการทันตกรรม 3. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์มีระดับคะแนนของแบบทดสอบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กและของตนเองเพิ่มขึ้น 4. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์มีค่าแผ่นคราบจุลินทรีย์เฉลี่ยลดลง
80.00

 

 

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กเล็กแรกคลอด – 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วาร์นิชโดยทันตบุคลากร
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60ของเด็ก๐-๒ ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2. ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีฟันขึ้นแล้ว ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช
60.00

 

 

 

3 ข้อที่ 3เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กเล็กแรกคลอด – 2 ปีมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กตามช่วงอายุ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็กมีระดับคะแนนของแบบทดสอบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กตามช่วงอายุเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก สามารถสาธิตวิธีการทำความสะอาดช่องปากเด็กได้อย่างถูกต้องตามแบบประเมิน 4 ใน 5 ข้อ
80.00

 

 

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ผู้ดูแลเด็ก มีระดับคะแนนของแบบทดสอบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก สามารถสาธิตวิธีการทำความสะอาดช่องปากเด็กได้อย่างถูกต้องตามแบบประเมิน 4 ใน 5 ข้อ
80.00

 

 

 

5 ข้อที่ 5เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ทาฟลูออไรด์วาร์นิชบริการอุดฟัน SMART Technique ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม และแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทาฟลูออไรด์วาร์นิช 2. ร้อยละ 80 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จำเป็นต้องอุดฟันได้รับบริการอุดฟัน SMART Technique 3. ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเข้าร่วมกิจกรรม“แปรงฟันคุณภาพเช้าและก่อนนอน”
80.00

 

 

 

6 ข้อที่ 6 เพื่อให้เด็กในโรงเรียนประถมศึกษาได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสมและแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80ของเด็กในโรงเรียนประถมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และเข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้ “แปรงฟันคุณภาพเช้าและก่อนนอน” 3. ร้อยละ 80 ของเด็กในโรงเรียนประถมศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรม “หวานน้อย หรอยได้”มีระดับคะแนนของแบบทดสอบความรู้เพิ่มขึ้น
80.00

 

 

 

7 ข้อที่ 7เพื่อให้เด็กในโรงเรียนมัธยมศึกษาชั้น ม.1 ได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม และแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80ของเด็กในโรงเรียนมัธยมศึกษาชั้น ม.1 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และเข้าร่วมกิจกรรมอบรม“ฟันสะอาด เหงือกแข็งแรง”
80.00

 

 

 

8 ข้อที่ 8 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ ๕๐ ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
50.00

 

 

 

9 ข้อที่ 9 เพื่อให้อสม. ได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของอสม. ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
80.00

 

 

 

10 ข้อที่ 10 เพื่อให้อสม.มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของแต่ละกลุ่มวัยและของตนเองอย่างเหมาะสม ตลอดจนสามารถคัดกรองรอยโรคมะเร็งเชิงรุกด้วยการเยี่ยมบ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของอสม. มีระดับคะแนนของแบบทดสอบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 80 ของอสม.เข้าร่วมประชุมประจำเดือนเป็นประจำทุกเดือน 3. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการคัดกรองรอยโรคมะเร็งเชิงรุกด้วยการเยี่ยมบ้านโดย อสม. 4. ร้อยละ 20 ของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองรอยโรคมะเร็งเชิงรุกด้วยการเยี่ยมบ้าน โดย อสม.
80.00

 

 

 

11 ข้อที่ 11 เพื่อให้อสม.ตระหนักและให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพช่องปาก และพัฒนาการดำเนินงานเพื่อเป็นตัวแทนการประกวดอสม. เชี่ยวชาญด้านทันตสุขภาพระดับอำเภอเทพา
ตัวชี้วัด : 1. มี อสม. เชี่ยวชาญด้านทันตสุขภาพอย่างน้อย 1 คน 2. อสม. เชี่ยวชาญด้านทันตสุขภาพ จัดทำนวัตกรรมด้านทันตสุขภาพอย่างน้อย 1 เรื่อง 3. อสม. เชี่ยวชาญด้านทันตสุขภาพจัดทำสื่อด้านทันตสุขภาพอย่างน้อย 1 เรื่อง
80.00

 

 

 

12 ข้อที่ 12 เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ตลอดจนส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม และเข้าร่วมประชุมประจำเดือนเป็นประจำ ส่งผลให้เกิดความเข็มแข็งภายในชมรม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2. ร้อยละ 80 ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเข้าร่วมประชุมประจำเดือนเป็นประจำทุกเดือน
80.00