กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2562

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2562
รหัสโครงการ 62-L5303-1-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
วันที่อนุมัติ 26 มิถุนายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 18,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า รพ.สต.เจ๊ะบิลัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.687,99.965place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 144 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ

๑. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีทักษะในการเลือกสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. ผู้จำหน่ายร้านชำมีความรู้ด้านผลิตภัณฑ์ 3 ข้อ

0.00
2 พัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
  1. มีทะเบียนชมรมสมาชิกเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค
  2. มีแผนที่ชุมชน
  3. มีแผนการ/โครงการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค
0.00
3 เพื่อเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพใน สถานประกอบการ ร้านชำ ร้านอาหาร แผง ลอย โรงอาหารในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครัวเรือนให้มีการจำหน่ายและใช้สินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐาน
  1. มีการตรวจสารปนเปื้อนอาหารอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี
  2. ร้อยละร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน ในศพด. ได้รับการตรวจตามเกณฑ์มาตรฐาน
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่ให้มีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : พัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อเฝ้าระวังการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพใน สถานประกอบการ ร้านชำ ร้านอาหาร แผง ลอย โรงอาหารในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครัวเรือนให้มีการจำหน่ายและใช้สินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐาน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ก.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 สำรวจข้อมูลพื้นฐาน ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน ศพด. ครัวเรือนและชุมชน 74.00 0.00 -
1 ก.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 จัดเวทีประชาคม โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน 74.00 9,200.00 -
1 ก.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความปลอดภัย แก่เครือข่ายผู้ประกอบการ ผู้บริโภคในพื้นที่ 70.00 8,800.00 -
1 ก.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 เฝ้าระวังผลิตสุขภาพ เช่น เครื่องสำอาง อาหาร ยาที่ไม่ปลอดภัย ใน ครัวเรือน สถานประกอบการต่างๆ โรงเรียน ศพด. และชุมชน 74.00 0.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. สำรวจข้อมูลพื้นฐาน ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน โรงอาหารใน ศพด. ครัวเรือนและชุมชน       1.1 ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน เช่น เครื่องสำอาง  อาหาร  ยา
      1.2 จัดทำทะเบียนผู้ประกอบการ ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน ศพด ครัวเรือนผู้ป่วยเรื้อรัง       1.3 จัดตั้งชมรมและคณะกรรมการเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค       1.4 สร้างเครือข่ายช่องทางสื่อสาร เช่น กลุ่มไลน์ ๒. จัดเวทีประชาคม โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน       2.1 คืนข้อมูลด้านเกี่ยวกับคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน       2.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและความปลอดภัย       2.3 จัดทำแผนที่ชุมชนเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน       2.4 จัดทำแผนปฏิบัติงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ๓. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความปลอดภัย แก่เครือข่าย ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค ในพื้นที่       3.1 สาธิตและฝึกปฏิบัติการทดสอบสารอันตรายในเครื่องสำอาง สารปนเปื้อนในอาหาร น้ำมันทอดซ้ำ       3.2 สาธิตการอ่านฉลากผลิตภัณฑ์สินค้า
      3.3 ฝึกตรวจ สารปนเปื้อนในอาหาร น้ำมันทอดซ้ำ 4. เฝ้าระวังผลิตสุขภาพ เช่น เครื่องสำอาง อาหาร ยาที่ไม่ปลอดภัย ใน ครัวเรือน สถานประกอบการต่างๆ โรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และชุมชน       4.1 สุ่มตรวจผลิตภัณฑ์ร้านชำ
      4.2 ตรวจสารปนเปื้อน 5 ชนิด ตรวจน้ำมันทอดซ้ำ       4.3 ตรวจมาตรฐานและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก       4.4 รงณรงค์เพื่อสร้างกระแสการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยประชาสัมพันธ์ในตลาดสดและในชุมชน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้บริโภคมีความรู้และมีทักษะในการเลือก อุปโภค บริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคได้รับการพัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในครัวเรือน ชุมชน ร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ส่งผลให้ผู้บริโภคในชุมชนมีความปลอดภัย จากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดโรค

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ก.ค. 2562 11:39 น.