กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อาหารกลางวันอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ปลอดสารปรุงรส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ปี 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
(นางภัณฑิราม่วงจันทร์)ตำแหน่ง ครูค.ศ.1 หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนกุโบร์




ชื่อโครงการ โครงการ อาหารกลางวันอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ปลอดสารปรุงรส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ปี 2560

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-03-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อาหารกลางวันอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ปลอดสารปรุงรส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อาหารกลางวันอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ปลอดสารปรุงรส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อาหารกลางวันอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ปลอดสารปรุงรส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-03-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีเด็กเล็กระดับก่อนวัยเรียน เป็นสิ่งสำคัญมากเพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตในทุกด้านคือทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาการบริการอาหารกลางวันเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญยิงสำหรับเด็กเล็ก เพราะการรับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีการจัดทำอาหารกลางวันที่มีรสชาติพอดี ไม่หวานจัด ไม่เค็มจัดและไม่ใส่สารปรุงรสและมีอย่างเพียงพอต่อความต้องการบริโภคอาหาร จะทำให้เด็กเล็กมีสุขภาพดีและแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค เมื่อเด็กเล็กมี่สุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงยอมส่งผลให้เด็กเล็กเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กเล็กให้มีพัฒนาการเรียนที่ดีขึ้นช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเทศบาลนครสงขลา ในฐานะเป็นผู้มีหน้าที่ในการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อช่วยสนับสนุนให้เด็กๆ อายุ 2-6 ขวบ ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับอาหารกลางวันที่มีรสชาติพอดี ไม่หวานจัด ไม่เค็มจัดและไม่ใส่สารปรุงรสที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างครบถ้วนและเหมาะสมกับวัย อีกทั้งยังเป็นการแบ่งเบาภาระพ่อแม่ที่ไม่มีเวลาดูแลเด็กได้อย่างเต็มที่ และนอกจากนั้นยังจัดการอบรมเพื่อให้ความรู้แก่ครู ผู้ดูแล และเจ้าหน้าที่ตามศูนย์เด็กเล็กต่างๆ ตลอดจนพ่อแม่ ผู้ปกครอง เกี่ยวกับหลักโภชนาการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กเล็กได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยจากโรค
  2. 2.เพื่อให้เด็กเล็กมีอาหารกลางวันรับประทานทุกวันและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี
  3. 3.เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะและมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปราศจากโรคติดต่อ
  4. 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดอาหารกลางวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 340
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กเล็กมีพฤติกรรมสุขภาพการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ 2.ผู้ปกครองและเด็กเล็กมีความเข้าใจในการเลือกบริโภคพืชผัก 3.เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไป ได้ศึกษาและเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
    4.เด็กเล็กเกิดทักษะการเรียนรู้เกี่ยวกับการพอเพียงและมีรายได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สรุปกิจกรรม 1.กิจกรรมจัดประชุมเจ้าหน้าที่และครูผู้ดูแลเด็กเพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมและดำเนินการ 2.กิจกรรมเก็บรวมรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการปรุงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.กิจกรรมการทำความสะอาดห้องครัว ห้องรับประทานอาหารและอุปกรณืประกอบอาหาร 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาหารให้กับผู้ประกอบอาหารภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5.กิจกรรมการตรวจสุขภาพอนามัยให้กับแม่บ้านของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

    สรุปการใช้งบประมาณ จัดสรร 11100 บาท ใช้จริง 11100 บาท ค่าอาหารว่าง+อาหารกลางวัน 2250 บาท ค่าตรวจสุขภาพ จ่ายเพิ่มเติมจากสิทธิ  6750 บาท ค่าวิทยากร 1800 บาท ค่าเข้าเล่ม 300 บาท รวมเป็นเงิน จำนวน 11100 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้เด็กเล็กได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยจากโรค
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ100 แม่บ้านได้รับการตรวจสุขภาพ

     

    2 2.เพื่อให้เด็กเล็กมีอาหารกลางวันรับประทานทุกวันและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี
    ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 100 ได้รับอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยจากโรค ซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตบริโภคตามหลักโภชนาการ5หมู่

     

    3 3.เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะและมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปราศจากโรคติดต่อ
    ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 85ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา

     

    4 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดอาหารกลางวัน
    ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ 90ผู้ประกอบอาหารมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะและมี สุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปราศจากโรคติดต่อ ได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 340
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กเล็กได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยจากโรค (2) 2.เพื่อให้เด็กเล็กมีอาหารกลางวันรับประทานทุกวันและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี (3) 3.เพื่อให้ผู้ประกอบอาหารมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะและมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปราศจากโรคติดต่อ (4) 4.เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดอาหารกลางวัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อาหารกลางวันอ่อนหวาน อ่อนเค็ม ปลอดสารปรุงรส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-03-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางภัณฑิราม่วงจันทร์)ตำแหน่ง ครูค.ศ.1 หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนกุโบร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด