กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา ”

ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาดีละห์ ดาแม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา

ที่อยู่ ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3052-03-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2562 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะดุนง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3052-03-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 สิงหาคม 2562 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะดุนง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริบเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน จะพบว่าเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลกะดุนงมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ตามพระราชดำรัส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีได้กล่าวไว้ว่า  “สำหรับข้าพเจ้า โภชนาการเป็นเรื่องที่ข้าพเจ้าสนใจเป็นพิเศษ การตามเสด็จพระบาทสมเด็กพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็กพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถไปทั่วราชอาณาจักร ทำให้ข้าพเจ้าได้พบเด็กขาดอาหารอยู่บ่อยๆ และข้าพเจ้าก็เห็นด้วยกับผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการว่า การปรับปรุงภาวะโภชนาการของเด็กเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งต้องการความใส่ใจจากทุกคนอย่างเร่งด่วน ข้าพเจ้าเชื่อว่า เราทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่า อาหาร เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญปัจจัยหนึ่ง การจะทำให้ผู้คนเข้าถึงอาหารได้มากขึ้น ให้มีความมั่งคงด้านอาหารในครัวเรือนและมีอาหารบริโภคที่เหมาะสม เนื่องจากเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องพัฒนาเป็นอันดับแรก” ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบล  กะดุนง ได้เล็งเห็นความสำคัญของเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา ประจำปี 2562 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
  2. เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที
  3. เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก
  4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 67
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปฏิบัติตนและดูแลภาวะโภชนาการเด็กได้อย่างถูกวิธี
    2. เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการให้มีรูปร่างดีและสมส่วน
    3. เด็กมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
    4. เด็กทุกคนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตได้ตามเกณฑ์อายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
    1.00

     

    2 เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที
    ตัวชี้วัด : ค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที
    1.00

     

    3 เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก
    ตัวชี้วัด : ลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก
    1.00

     

    4 เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : เฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 67
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 67
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กผู้ที่รับผิดชอบ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญในการปฏิบัติตนด้านภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง (2) เพื่อค้นหาเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการให้ได้รับการแก้ไขปัญหาทันท่วงที (3) เพื่อลดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพัฒนาการเด็ก (4) เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดดารนอีบาดะห์บ้านโตะบาลา จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L3052-03-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอาดีละห์ ดาแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด