กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-01-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 589,742.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยยุงลายที่มีการระบาดในตำบลทับเที่ยง มี 2 โรค คือ โรคไข้เลือดออก เป็นโรคที่ระบาดเกือบทุกปีส่วนอีกโรคหนึ่งที่มีการระบาดมากในปี 2561-2562 คือ โรคชิคุนกุนยา ทั้งสองโรคนี้มียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นพาหะนำโรค ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดตรัง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีฟดูฝนที่ยาวานกว่าฤดูกาลอื่นๆสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัย มีภาชนะขังน้ำที่เกิดจากพฤติกรรมของคน และแหล่งเพาะพันธ์ุตามธรรมชาติอยู่โดยรอบจึงมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคในกลุ่มนี้เป็นอย่างยิ่ง กลุ่มประเทศอาเซียนจึงได้กำหนดให้วันที่ 15 มิถุนายน ของทุกปีเป็นวัน ASEAN DENGUE DAY เพื่อให้ทุกประเทศในภูมิภาคนี้ร่วมใจกันจัดกิจกรรมรณรงค์ไข้เลือดออก จังหวัดตรังกำหนดให้มีมาตรการลดและกำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยวิธี 5 ป 1 ข ใน 6 ร ได้แก่ โรงเรียน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม โรงงานและโรงธรรม       สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของอำเภอเมืองตรัง มีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงติดอันดับ 1-3 ของจังหวัดตรังเกือบทุกปี ผู้ป่วยตำบลทับเที่ยงปี 2559-2561 จำนวน 79,26 และ 33 ราย อัตราป่วย 129.30 , 43.10 และ 55.10 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กระทรวงกำหนดคือ ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ใน ปี พ.ศ. 2561 ( 1 มกราคม - 31 ธันวาคม) ตำบลทับเที่ยงมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและผู้สงสัยป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่แจ้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการควบคุมโรคทั้งสิ้น 314ราย ผู้ป่วยกระจายอยู่ใน 26 ชุมชน จากทั้งหมด 27 ชุมชน คิดป็นร้อยละ 96.29 ของชุมชนในตำบลทับเที่ยง ประชากรกลุ่มอายุที่มีรายงานการป่วยสูงที่สุด คือ 15-24 ปี ส่วนใหญ่เป็นวัยทำงาน รองลงมา คือ 10-14 ปี ปี2562 ความว่าจะมีการระบาดอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากมีจำนวนผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐานมาตั้งแต่เดือนมราคม ส่วนผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยาและผู้สงสัยที่มีการแจ้งพื้นท่ควบคุมโรคช่วงตั้งแต่ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2561 จำนวน 14 ราย       โรงพยาบาลตรังจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคอมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรังขึ้นเพื่อแก้ไข้ปัญหาโรคติดต่อโดยยุงลาย เช่นโรคไข้เลือดออก และโรคชิคุนกุนยาระบาดในพื้นที่โดยการลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายและป้องกันการแพ่กระจายเชื้อโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยาจากผู้ป่วยสู่คนอื่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) ใน 4 ร. ลดลง
  2. มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในชุมชน
  2. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงเรียน
  3. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในวัด
  4. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงพยาบาล
  5. กิจกรรมควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หลังจากการจัดกิจกรรมรณรงค์ใน 4 ร. แล้ว ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย จะลดลง
  2. ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยหลัก 5ป. 1 ข.
  3. ประชาชนมีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในชุมชน

วันที่ 23 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมทีมและจัดทำแผนการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร. คือ โรงเรือน(ชุมชน) โรงเรียน(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) โรงธรรม(วัด) และโรงพยาบาล
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ขอให้รถสำหรับประชาสัมพันธ์และรถสำหรับรณรงค์ป้องกันโรคใน 4 ร. 5.จัดทีมเดินรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในชุมชนเดือนละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 ชุมชน โดยมีกิจกรรมดังนี้   5.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 7 เดือน รวม 14 ครั้ง   5.2 การทำลายลูกน้ำยุงลายเดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 7 เดือน รวม 14 ครั้งใช้ทรายกำจัดลูกน้ำ 8 ถัง   5.3 การแจกเอกสารแผ่นปลิวขอความร่วมมือป้องกันไข้เลือดออก   5.4 การจ่ายทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลายแก่บ้านที่มีภาชนะน้ำขัง   5.5 การใช้รถประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคเดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 7 เดือน รวม 14 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน เป้าหมาย 14 ครั้ง ดำเนินการเดือน สิงหาคม 2562 - พฤษภาคม 2563 รวม 14 ครั้ง คิดเป็น ร้อยละ 100 กิจกรรมที่ดำเนินการมีดังนี้ การสำรวจลูกน้ำยุงลาย การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การแจกทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย การแจกเอกสารคำแนะนำการป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลาย การสร้างกระแสและให้ความรู้โรคไข้เลือดออกโดยรถประชาสัมพันธ์ ในช่วงเวลาที่เดินรณรงค์ในชุมชน

 

0 0

2. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงพยาบาล

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมทีมและจัดทำแผนการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร. คือ โรงเรือน(ชุมชน) โรงเรียน(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) โรงธรรม(วัด) และโรงพยาบาล
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ขอให้รถสำหรับประชาสัมพันธ์และรถสำหรับรณรงค์ป้องกันโรคใน 4 ร. 5.จัดทีมเดินรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงพยาบาล โดยมีกิจกรรมดังนี้   5.1 สำรวจลูกน้ำยุงลาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 7 เดือนใช้ทรายอะเบทจำนวน 1 ถัง   5.2 ทำลายแหล่งเพาพันธุ์ยุงลาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 7 ครั้ง รวม 7 ครั้ง   5.3 การสนับสนุนอุปกรณ์การปฏิบัติงานแก่ทีมงานและหอผู้ป่วย ได้แก่ ไฟฉาย 10 อัน และไม้ช็อตยุง 20 อัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงพยาบาลตรัง มีกิจกรรมคือการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในเขตโรงพยาบาลตรัง และบ้านพักเจ้าหน้าที่เดือนละ 1 ครั้ง

 

0 0

3. กิจกรรมควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมทีมและจัดทำแผนการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร. คือ โรงเรือน(ชุมชน) โรงเรียน(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) โรงธรรม(วัด) และโรงพยาบาล
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ขอให้รถสำหรับประชาสัมพันธ์และรถสำหรับรณรงค์ป้องกันโรคใน 4 ร.
  5. การควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยยุงลาย โดยมีกิจกรรมดังนี้     5.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลายในบ้านและบริเวณบ้านโดยรอบบ้านผู้ป่วย 200 ราย ให้ใช้ทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย 5 ถัง     5.2 การใ้ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก สมาชิกในบ้าน และบ้านใกล้เคียง ทายากันยุงเพื่อป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคไข้เลือดออกจำนวน 200 ราย รายละ 11 หลัง หลังละ 20 ซอง รวม 44,000 ซอง และสนับสนุนสถานบริการสาธารณสุขแจกจ่ายแก่ผู้สงสัยป่วยด้วยชิคุนกุนยาที่สถานบริการและ ชุมชน 5 แห่ง แห่งละิ7,000 ซอง รวม 35,000ซอง     5.3 การใช้ยาฉีดยุงในบ้านผู้ป่วยและรอบบ้านผู้ป่วยเพื่อฆ่ายุงที่อาจจะมีเชื้อโรคไข้เลือดออกจำนวน 200 ราย รายละ 11 หลัง หลังละ 1 กระป๋อง รวม 2,200 กระป๋อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยในชุมชนมีการสนับสนุนวัสดุเพื่อการควบคุมโรคแก่ผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียงตั้งแต่ 8 ตุลาคม 2562 - 13 สิงหาคม 2563 รวม 206 ราย

 

0 0

4. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในวัด

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมทีมและจัดทำแผนการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร. คือ โรงเรือน(ชุมชน) โรงเรียน(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) โรงธรรม(วัด) และโรงพยาบาล
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ขอให้รถสำหรับประชาสัมพันธ์และรถสำหรับรณรงค์ป้องกันโรคใน 4 ร. 5.จัดทีมเดินรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในวัด โดยมีกิจกรรมดังนี้   5.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลายในวัด 9 แห่ง และสนับสนุนทรายอะเบทแก่วัด โดยใช้ทรายอะเบท จำนวน 1 ถัง   5.2 ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย   5.3 การใช้สื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ในวัด   - ไวนิลชุด 2 ผืน จำนวน 9 แห่ง นวม 18 ผืน   - แผ่นปลิวประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในวัด จำนวน 9 วัด คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่วัด

 

0 0

5. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงเรียน

วันที่ 23 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมทีมและจัดทำแผนการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร. คือ โรงเรือน(ชุมชน) โรงเรียน(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) โรงธรรม(วัด) และโรงพยาบาล
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ขอให้รถสำหรับประชาสัมพันธ์และรถสำหรับรณรงค์ป้องกันโรคใน 4 ร. 5.จัดทีมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรคเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีกิจกรรม ดังนี้   5.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลาย สนับสนุนไฟฉายสำรวจลูกน้ำยุงลายแก่โรงเรียน 20 แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 10 แห่ง แห่งละ 2 อัน รวม 220 อัน   5.2 การทำลายลูกน้ำยุงลายสนับสนุนทรายกำจัดลูกน้ำยุงลายแก่โรงเรียน 20 แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 10 แห่ง ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย 4 ถึง   5.3 การให้สุขศึกษาหน้าแถวตอนเช้า 20 โรงเรียน โดยใช้สื่อให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ต่างๆ เช่น มาสคอทยุงลาย 2 ชุด สติกเกอร์ฟิวเจอร์บอร์ดชุด 10 ชิ้น จำนวน 2 ชุด และเอกสารแผ่นปลิวให้ความรู้ จำนวน 10,000 แผ่น   5.4 การมอบหมายให้นักเรียนสำรวจลูกน้ำยุงลายและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุที่บ้านจำนวน 5,000 คน เดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 3 เดือน ใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย 30,000   5.5 การสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์สติกเกอร์โฟมบอร์ดชุด 2 แผ่นแก่โรงเรียน 20 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน จำนวน 20 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีการจัดกิจกรรม 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 การสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ครั้งที่ 2 การให้สุขศึกษาที่โรงเรียน และมอบหมายให้นักเรียนสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่บ้าน และมีการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) ใน 4 ร. ลดลง
ตัวชี้วัด : ผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายใน 4 ร.
0.00

 

2 มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร.
ตัวชี้วัด : โรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครตรังที่แจ้งควบคุมโรคไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปี (264 ราย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) ใน 4 ร. ลดลง (2) มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในชุมชน (2) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงเรียน (3) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในวัด (4) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงพยาบาล (5) กิจกรรมควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด