กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ


“ โครงการเค็มใต้ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางลำดวน ลิงาลาห์

ชื่อโครงการ โครงการเค็มใต้ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเค็มใต้ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเค็มใต้ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเค็มใต้ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,187.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ โดยมีพาหะนำโรค ได้แก่ ยุงลายซึ่งสามารถแพร่พันธ์ุได้ดีในช่วงฤดูฝน การรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน/ชุมชนและโรงเรียน จำเป็นต้องกระทำอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดเชื้อโรคไข้เลือดออก หากไม่รีบดำเนินการป้องกันควบคุมโรคอย่างเร่งด่วนแล้ว นับว่ามีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆในแต่ละปี หมู่บ้านท่าน้ำเค็มใต้ ซึ่งมีประชากร 1,109 คน มีจำนวนหลังคาเรือนที่รับผิดชอบทั้งหมด 269 หลังคาเรือน มีจำนวนผู้ป่วยในปี 2561 จำนวน 4 ราย ซึ่งบริบทของชุมชน ความกระจุกตัว ความหนาแน่นของหลังคาเรือน และสภาพแวดล้อมในชุมชนที่มีความเอื้ออำนวยต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่วเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นให้คนในชุมชน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านท่าน้ำเค็มใต้ร่วมกับโรงพยาบาลท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการเค็มใต้ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
  2. 2.เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน
  3. 3.เพื่อสร้างครอบครัว ต้นแบบบ้านน่าอยู่ปลอดลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คนในชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะัสม
2.คนในชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน
3.เกิดครอบครัวต้นแบบ บ้านน่าอยู่ปลอดลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในชุมชน

วันที่ 25 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในชุมชน ลงสำรวจลูกน้ำยุงลายครัวเรือนที่ร่วมประกวดทุกสัปดาห์ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คนในชุมชนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม  เกิดครอบครัวต้นแบบ บ้านน่าอยู่ปลอดลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 80

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อสร้างครอบครัว ต้นแบบบ้านน่าอยู่ปลอดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน (3) 3.เพื่อสร้างครอบครัว ต้นแบบบ้านน่าอยู่ปลอดลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเค็มใต้ร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลำดวน ลิงาลาห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด