โครงการ พัฒนาศักยภาพทีมรักษ์ไต ปี 62
ชื่อโครงการ | โครงการ พัฒนาศักยภาพทีมรักษ์ไต ปี 62 |
รหัสโครงการ | 62-L6961-01-55 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มทีมรักษ์ไต โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก |
วันที่อนุมัติ | 31 กรกฎาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 24,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวกิรณา อรุณแสงสด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.008,101.949place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 156 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ทีมสหสาขาวิชาชีพดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคคลทั้งเครือข่าย ตั้งแต่ระดับที่ใกล้ชิดผู้ป่วยมากที่สุด คือระดับผู้ให้การดูแล หรืออาสาสมัครในครอบครัว ชุมชน และบุคลากรในเครือข่ายเยี่ยมบ้าน ซึ่งเป็นทีมดูแลผู้ป่วยในชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้แกนนำชุมชน,Care giver มีความสามารถแนะนำเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง สาเหตุ การวินิจฉัย การรักษา และการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีต่างๆ
|
0.00 | |
2 | 2. เพื่อให้แกนนำชุมชน,Care giver มีความสามารถในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และ ครอบครัวให้สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น และ ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข
|
0.00 | |
3 | 3. ผู้ดูแลผู้ป่วย สามารถปรุงอาหารให้แก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
|
0.00 | |
4 | 4. ผู้ดูแลผู้ป่วย สามารถดูแลเรื่องการรับประทานยาของผู้ป่วยได้
|
0.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ เรื่องโรคไตเรื้อรัง ให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลของชุมชน และร่วมเป็นทีมสหวิชาชีพ ของโรงพยาบาล ในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง รุ่นที่ 1 พยาบาลวิชาชีพ ให้เป็น ครู ก. พี่เลี้ยงและที่ปรึกษาในการดำเนินงาน เพื่อลดโรคไตเรื้อรังในชุมชน รุ่นที่ 2 ผู้นำชุมชน และผู้ให้การดูแล (Care Giver) กิจกรรมที่ 2 ลงชุมชนติดตามเยี่ยมบ้าน ร่วมกับโรงพยาบาลในชุมชน ในรูปแบบสหสาขา ตามเกณฑ์ที่กำหนด ดังนี้ 1. ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตที่ควบคุมไม่ได้ และ ค่า eGFR ไม่คงที่ หลังจากผ่านการเข้า Group และ individual education แล้ว 2. ผู้ป่วยที่เพิ่งออกจากโรงพยาบาล (Discharge) 3. ผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการทำ Vascular Access 4. กลุ่มที่เบื้องต้นปฏิเสธการรักษา 5. อื่นๆ ที่พื้นที่เห็นสมควร เช่น ผู้ป่วยไม่มาตามนัด
- แกนนำชุมชน,Care giver มีความสามารถแนะนำเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง สาเหตุ การวินิจฉัย การรักษา และการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีต่างๆ
- แกนนำชุมชน,Care giver มีความสามารถในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และ ครอบครัวให้สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น และ ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข
- ผู้ดูแลผู้ป่วย สามารถปรุงอาหารให้แก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- ผู้ดูแลผู้ป่วย สามารถดูแลเรื่องการรับประทานยาของผู้ป่วยได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ส.ค. 2562 09:29 น.