กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.ควนโดน ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายซอหมาด บาหลัง

ชื่อโครงการ โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.ควนโดน

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.ควนโดน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.ควนโดน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.ควนโดน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L8406-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาวะการเจ็บป่วยและสาเหตุการตายที่สำคัญของประชาชนจังหวัดสตูลส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ซึ่งปัญหาความเจ็บป่วยจากโรคไร้เชื้อเรื้อรังเหล่านี้ เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงที่สามารถป้องกันได้ เช่น การบริโภค อาหารที่ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม จนเกิดภาวะอ้วนลงพุง และโรค ไม่ติดต่ออื่นๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นโรคที่เกิดจาก วิถีชีวิตทั้งสิ้น จะเห็นได้ว่า ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉพาะในรายที่เกิดภาวะแทรกซ้อน ยังส่งผลให้ต้องพึ่งพาผู้อื่น เป็นภาระแก่สมาชิกในครอบครัว และยังทำให้ครอบครัวต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเป็นจำนวนมากอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้ป่วยยังมีโอกาสเสียชีวิตจากหัวใจวายมากถึงร้อยละ 60 – 75 เสียชีวิตจากเส้นเลือดสมองแตกหรืออุดตัน ร้อยละ    20 - 30 เสียชีวิตจากไตวายร้อยละ 5 - 10 ส่วนผู้ที่รอดชีวิตก็มีโอกาสเป็นอัมพฤกษ์หรืออัมพาตได้ จากการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานโดยรวมในการดูแลสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน ซึ่งมีผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัดร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 ผลงานปี 2560-2561 ร้อยละ14.29และร้อยละ22.86 จากผู้รับบริการทั้งหมด 309 คน และ 329 คน ตัวชี้วัดร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีมากกว่าร้อยละ 50 ผลงานปี 2560- 2561 ร้อยละ51.02 และร้อยละ52.38 และตัวชี้วัดอัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ผลงานปี 2560 - 2561 ผู้ป่วยทั้งหมด 281 คน ระดับ1 = 240 คน คิดเป็นร้อยละ85.41, ระดับ2 = 34 คน คิดเป็นร้อยละ12.10, ระดับ3 = 7 คน คิดเป็นร้อยละ2.49 และปี 2561 ผู้ป่วยทั้งหมด 338 คน ระดับ1 = 282คน คิดเป็นร้อยละ83.43, ระดับ2 = 44 คน คิดเป็นร้อยละ13.02, ระดับ3 = 11 คน คิดเป็นร้อยละ3.25และระดับ  5 = 1คน คิดเป็นร้อยละ0.30 ฃึ่งเป็นผลงานที่ได้มาจากการดำเนินโครงการ ที่ผ่านมาย้อนหลัง 2 ปี ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง จากข้อมูล จะเห็นได้ว่าอัตราผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ตัวชี้วัดการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดผลงาน ยังไม่ผ่านเกณฑ์ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีจำนวนมากและเป็นเรื่องที่ท้าทาย ที่จะต้องดำเนินการต่อไป เพื่อให้ผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องการควบคุมระดับความดันโลหิตในปี 2560 และ2561 ผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด และต้องดำเนินงานต่อเพื่อคงระดับให้ดียิ่งขึ้นไป และในส่วนของการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ผลการปฏิบัติงานมีแนวโน้มดีขึ้นในทุกๆปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความเสี่ยงอยู่ในระดับ 1 เป็นผลงานที่ต้องดำเนินการต่อและพัฒนาผลงานให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่จะต้องดำเนินการแก้ไขโดยเร่งด่วน เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว ได้รับบริการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่ครอบคลุมตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้สามารถควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน โดยครอบครัว ชุมชน และสังคม มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน จึงได้จัดทำ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.ควนโดน ปี 2562 ขึ้น ด้วยโครงการนี้ เป็นโครงการที่ดำเนินการต่อเนื่องในเขต อบต. เข้าปีที่ 6 แล้ว และทุกๆกิจกรรมเป็นการติดตามประเมินผลจากการปฏิบัติตัว และการดูแลตนเองของผู้ป่วยในแต่ละด้าน ไม่ว่าจะเป็นการตรวจสุขภาพ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจตา ตรวจไต ตรวจเท้า และการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ครอบคลุมตามเกณฑ์มาตรฐาน และตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นการดำเนินงานเพื่อการประเมิน ติดตามผล และส่งต่อ ตามมาตรฐานที่ตกลงกันในแต่ละพื้นที่ (CPG NCD CUP ควนโดน) จึงควรให้มีการดำเนินโครงการนี้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เหมาะสม
  2. 2 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจ และหลอดเลือด และCVD RISK ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น/ได้รับยาในการตรวจรักษาอย่างครอบคลุม
  3. 3 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดีตามเป้าหมายในแต่ละระยะของโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนและ/หรือมีปัญหาการควบคุมได้ไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยมบ้านและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทางตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด พร้อมทั้งประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk assessment) แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 150 คน
  2. 2. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 ฐาน ได้แก่ ฐานโรคและอาการ ฐานยาและสมุนไพร ฐาน อาหารและโภชนาการ และฐานบุหรี่และออกกำลังกาย จำนวน 150 คน
  3. 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ และได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านทุกราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังหรือผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เหมาะสม 2 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น/ได้รับยาในการตรวจรักษาอย่างครอบคลุม 3 ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดีตามเป้าหมายในแต่ละระยะของโรค ในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนและ/หรือมีปัญหาการควบคุมได้ไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่องสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยมบ้านและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เหมาะสม ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 80
0.00

 

2 2 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจ และหลอดเลือด และCVD RISK ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น/ได้รับยาในการตรวจรักษาอย่างครอบคลุม
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจ และหลอดเลือด และ CVD RISK ร้อยละ 90 ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น/ได้รับยาในการตรวจรักษาอย่างครอบคลุม
0.00

 

3 3 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดีตามเป้าหมายในแต่ละระยะของโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนและ/หรือมีปัญหาการควบคุมได้ไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยมบ้านและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ร้อยละ 40/ระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50 ตามเป้าหมายในแต่ละระยะของโรค ในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนและ/หรือมีปัญหาการควบคุมได้ไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่องสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยมบ้านและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เหมาะสม (2) 2 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจ และหลอดเลือด และCVD RISK ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น/ได้รับยาในการตรวจรักษาอย่างครอบคลุม (3) 3 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ดีตามเป้าหมายในแต่ละระยะของโรคในผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนและ/หรือมีปัญหาการควบคุมได้ไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยมบ้านและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทางตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด พร้อมทั้งประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk assessment) แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 150 คน (2) 2. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 ฐาน ได้แก่ ฐานโรคและอาการ ฐานยาและสมุนไพร ฐาน อาหารและโภชนาการ และฐานบุหรี่และออกกำลังกาย จำนวน 150 คน (3) 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ และได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านทุกราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.ควนโดน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L8406-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอหมาด บาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด