กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2562
รหัสโครงการ 62-L3061-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.เกาะเปาะ
วันที่อนุมัติ 28 พฤษภาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 12 กันยายน 2562 - 12 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 11 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 18,750.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมัคร แวเด็ง
พี่เลี้ยงโครงการ นายมูหะหมัด วันสุไลมาน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 50 คน
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ไข้เลือดออกอำเภอหนองจิก ปี 2561 มีรายงานผู้ป่วยจำนวน 134 ราย คิดเป็นอัตราป่่วย 127.70 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 208 ราย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ไม่มีผู้ป่วย

1.ตายด้วยโรคไข้เลือดออก

50.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 250 18,750.00 1 18,750.00
12 ก.ย. 62 ประชุมชี้แจงคณะทำงาน (อสม.) เจ้าหน้าที่และประชากร 250 18,750.00 18,750.00

ขั้นเตรียมการ
1.ประสานงานกับคณะทำงาน (อสม.เจ้าหน้าที่และประชาชน ม.1,2,3) เพื่อหาแนวทางในการจัดทำแผนงานโครงการ และเสนอโครงการต่อกองทุน สปสช.ตำบลเกาะเปาะ
2.ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการทั้งหมดแก่ทีมงาน
ขันดำเนินการ
1.ผู้นำชุมชน แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว รณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรค
2.อสม.ออกสำรวจลูกน้ำยุงลาย ตามครัวเรือนในเขตรับผิดชอบ โดยใช้แบบบันทึก และอธิบายความสำคัญ
3.รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
4.พ่นหมอกควันสารเคมีในชุมชน โรงเรียน มัสยิด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ รพ.สต.ในตำบล
5.แจกแผ่นพับ / สติกเกอร์ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่กลุ่มเป้าหมาย
6.จัดทำป้ายไวนิลเพื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออก
ขั้นสรุปและประเมินผลโครงการ
1.ติดตามผลการดำเนินการและปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
2.ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อโครงการ
3.สรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียนจากการดำเนินงานทั้งหมด

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย ทั้งในบ้านเรือนและชุมชน 3.ประชาชนมีความรู้ ตระหนักและร่วมมือแข่งขันกันกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องมากขึ้นกว่าเดิม 4.โรงเรียน ชุมชนมัสยิด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เป็นเขตปลอดลูกน้ำยุงลาย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ส.ค. 2562 00:00 น.