กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการเล่านิทาน และแสดงท่าทางประกอบเพื่อพัฒนา IQ และ EQ หมู่ที่8 ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายก่อหยาด เขาบาท

ชื่อโครงการ โครงการเล่านิทาน และแสดงท่าทางประกอบเพื่อพัฒนา IQ และ EQ หมู่ที่8

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเล่านิทาน และแสดงท่าทางประกอบเพื่อพัฒนา IQ และ EQ หมู่ที่8 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเล่านิทาน และแสดงท่าทางประกอบเพื่อพัฒนา IQ และ EQ หมู่ที่8



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเล่านิทาน และแสดงท่าทางประกอบเพื่อพัฒนา IQ และ EQ หมู่ที่8 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรทีมีคุณค่ายิ่งต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต เด็กต้องได้รับการพัฒนาคุณภาพให้สมบูรณ์พร้อมทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และคุณธรรม เพื่อให้เป็นผู้ใหญ่ที่พร้อมจะนำพาประเทศไปสู่การแข่งขันจากคุณลักษณะดังกล่าวโดนเฉพาะอย่างยิ่งด้านสติปัญญาและอารมณ์เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญ ซึ่งกลุ่มที่สมควรได้รับการเสริมสร้างและพัฒนา คือเด็กที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยเฉพาะในช่วง 0-6 ปีแรกของชีวิต ซึ่งจะอยู่ในการดูแลของครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง ดังนั้นครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองจึงต้องมีความรู้ ความสามารถในการเสริมสร้างและพัฒนาเด็ก ทั้งทางด้านสติปัญญา (IQ) และอารมณ์ (EQ) ให้กับเด็กตั้งแต่อายุยังน้อย เพื่อปูพื้นฐานที่อบอุ่น อบอวลด้วยไอรักและอบรมกล่อมเกลาให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ การจัดการศึกษาปฐมวัยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง และผู้ใกล้ชิดเด็กเป็นผู้ช่วยเหลือให้เด็กมีพัฒนาการและความพร้อมอย่างเหมาะสม
      เนื่องจาก ช่วงวัยนี้เด็กยังต้องอยู่ในการดูแลของผู้ปกครอง โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๖ ปีแรกของชีวิต และช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่สมอง และพัฒนาการพื้นฐานด้านร่างกายต้องได้รับการเตรียมความพร้อมอย่างถูกต้องและครบถ้วน โดยจะต้องมีการส่งเสริมเด็กทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน ในปี 2560 กรมสุขภาพจิต ได้ดำเนินการสำรวจสถานการณ์ความฉลาดทางสติปัญญา (ไอคิว: IQ) และความฉลาดทางอารมณ์(อีคิว : EQ) เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศจำนวน ๒๓,๖๓๑ คนพบว่าเด็กมีคะแนนไอคิวเฉลี่ยอยู่ที่ ๙๘.๒ ซึ่งสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจในปี ๒๕๕๔ ที่เฉลี่ยอยู่ที่ ๙๔ เด็กไทยมีไอคิวอยู่ในเกณฑ์ปกติ ถึง ๒ ใน ๓ หรือ ร้อยละ ๖๘ ขณะที่ เด็กจาก ๔๒ จังหวัดรวมทั้งกรุงเทพมหานคร มีไอคิว สูงเกิน ๑๐๐ ขึ้นไป อย่างไรก็ตาม ยังมีเด็กบางส่วนใน ๓๕ จังหวัด ไอคิวต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน นอกจากนี้ ยังพบเด็กที่มีระดับสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์บกพร่องหรือต่ำกว่า ๗๐ ถึงร้อยละ ๕.๘ ซึ่งสูงกว่ามาตรฐานสากล ซึ่งไม่ควรเกินร้อยละ ๒ โดยพบเด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้มีปัจจัยเสี่ยงสูงกว่าภาคอื่นๆ ตลอดจนยังพบว่า เด็กนอกเขตอำเภอเมือง มีระดับไอคิวเฉลี่ย ๙๖.๙ ขณะที่เด็กในเขตอำเภอเมืองมีไอคิว ๑๐๑.๕ และเด็กในพื้นที่ กทม. มีไอคิวเฉลี่ย ๑๐๓.๔ ส่วนความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก พบ เป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ ๗๗ แต่ก็ยังพบเด็กจำนวนไม่น้อยที่ยังต้องการการพัฒนา ซึ่งเด็กมีปัญหาอีคิวมากที่สุดในด้านขาดความมุ่งมั่นพยายามและขาดทักษะในการแก้ไขปัญหา
      ทางอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 8 ตำบลบ่อหิน จึงได้เล็งเห็นความสำคัญและได้นำเสนอโครงการเล่านิทานและแสดงท่าทางเพื่อพัฒนา IQ และ EQ ประจำปี ๒๕๖๒ เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้นำไปใช้กับเด็กให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพราะเด็กจะต้องได้รับการส่งเสริมจากทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน เพื่อให้เด็กโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่พร้อมทั้งทางด้านสติปัญญาและอารมณ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ทางวิชาการด้านการพัฒนา EQ และ IQ เด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วางแผนการดำเนินโครงการและจัดดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา และอารมณ์ของเด็ก
2 ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปส่งเสริมบุตรหลานให้มีพัฒนาการที่ดีทั้งทางด้านสติปัญญาและอารมณ์ของเด็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. วางแผนการดำเนินโครงการและจัดดำเนินโครงการ

วันที่ 18 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1 ค้นหากลุ่มเป้าหมายในพื้นที่หมู่ที่8 บ้านดุหุน 2 จัดทำโครงการ และเสนอโครงการฯ เพื่อขออนุมัติโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนฯ 3 แต่งตั้งคณะทำงานและประชุมชี้แจงคณะทำงานในการจัดเตรียมการดำเนินงาน 4 ดำเนินงานจัดทำโครงการที่ได้รับอนุมัติ 5 ประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา และอารมณ์ของเด็ก
2 ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปส่งเสริมบุตรหลานให้มีพัฒนาการที่ดีทั้งทางด้านสติปัญญาและอารมณ์ของเด็ก

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90 ของเด็ก 3-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
90.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ทางวิชาการด้านการพัฒนา EQ และ IQ เด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองได้รับความรู้ทางวิชาการด้านการพัฒนา EQ และ IQ เด็ก
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก (2) เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ทางวิชาการด้านการพัฒนา EQ และ IQ เด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนการดำเนินโครงการและจัดดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเล่านิทาน และแสดงท่าทางประกอบเพื่อพัฒนา IQ และ EQ หมู่ที่8 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายก่อหยาด เขาบาท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด