กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ปีงบประมาณ 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ปีงบประมาณ 2560 ”

หมู่ที่ 1,2,4,5,7,12ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายนิภัทรเพชรศรี

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ หมู่ที่ 1,2,4,5,7,12ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60L33541001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1,2,4,5,7,12ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1,2,4,5,7,12ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60L33541001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจากการปฏิบัติตัวที่ไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีสาเหตุจากการกินอาหารที่ มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งกินผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ มีภาวะเครียด การสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา การอออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอ ทำให้ประชาชนเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร และต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก และพบว่าอัตราป่วยต่อแสนประชากรในโรคความดันโลหิตสูง 860.53 โรคเบาหวาน 675.74 โรคหัวใจและหลอดเลือด 901.31 และสำหรับอัตราการตายต่อแสนประชากรมีดังนี้ โรคความกันโลหิตสูง 3.90 โรคเบาหวาน 12.22 โรคหัวใจและหลอดเลือด 56.00 (ข่อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551 จากระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อปรับพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มปกติ/เสี่ยง/ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ได้ทำการคัดกรองประชาชนที่มีอายุมากกว่า 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ ปีงบประมาณ 2560 พบว่าคัดกรองผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 1,260 คน พบว่ามีภาวะเสี่ยง 406 คน คิดเป็นร้อยละ 32.22 และมีภาวะเสี่ยงสูง 55 คน คิดเป้นร้อยละ 4.37 คัดกรองผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 1,069 คน พบว่ามีภาวะเสี่ยง 418 คน คิดเป็นร้อยละ 43.14 และมีภาวะเสี่ยงสูง 192 คน คิดเป็นร้อยละ 19.81 คัดกรองผู้ป่วยโรคอ้วน จำนวน 1,531 คน พบว่าผู้ที่มี BMI เกิน จำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 13.07 และมีภาวะอ้วน จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 2.88 การเจ็บป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน ซึ่งส่วนใหญ่ในระยะเริ่มแรกจะไม่แสดงอาการใดๆ ดังนั้นผู้ป่วยจึงไม่ค่อยทราบ หากไม่ได้รับการรักษาและปฏิบัติที่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ ด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง มีสุขภาพที่ดี มีความรู้ในการดูแลตนเอง ลดการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน ตลอดจนลดภาวะแทรกซ้อนและการสูญเสียของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. 2.เพื่อลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน
  3. เพื่อพัฒนาคลินิกไร้พุง (CPAC) ใน รพ.สต.ให้มีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถุกต้อง 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน 3. คลิกนิกไร้พุง (DPAC) ใน รพ.สต.มีคุณภาพที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง

    วันที่ 27 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประเมิน 1.ระดับความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องการดูแลสุขภาพด้านการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร และสุขภาพจิต ก่อนและหลังอบรม เกณฑ์ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น 2.พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้เข้าอบรม ประเมินจากแบบสอบถาม เรื่อง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้านโภชนาการ การออกกำลังกายเกณฑ์ร้อยละ 80 มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องติดตาม หลังอบรม 6 เดือน 3.เปรียบเทียบผลการดำเนินกิจกรรมก่อนและหลัง ผลการดำเนินโครงการ 1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 90 (ประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องการดูแลสุขภาพด้านการออกกำลงกาย การบริโภคอาหาร และสุขภาพจิต) ตั้งเกณฑ์ไว้ร้อยละ 80 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสุง โรคอ้วน 3.ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน

     

    150 150

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเอง

     

    2 2.เพื่อลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน
    ตัวชี้วัด : ผูู้ป่วยมีอัตราลดลง

     

    3 เพื่อพัฒนาคลินิกไร้พุง (CPAC) ใน รพ.สต.ให้มีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด : คลิินิคไร้พุงมีคุณภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) 2.เพื่อลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน (3) เพื่อพัฒนาคลินิกไร้พุง (CPAC) ใน รพ.สต.ให้มีคุณภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน ด้วยกระบวนการไร้พุง (DPAC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไพ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60L33541001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนิภัทรเพชรศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด