กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม


“ อสม. ร่วมใจ เร่งรัดจัดการโรคไข้เลือดออกบ้านประตูเขียน หมู่ที่ 5 โดยประชาชนมีส่วนร่วม ”

ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลม่วงงาม ม.5

ชื่อโครงการ อสม. ร่วมใจ เร่งรัดจัดการโรคไข้เลือดออกบ้านประตูเขียน หมู่ที่ 5 โดยประชาชนมีส่วนร่วม

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"อสม. ร่วมใจ เร่งรัดจัดการโรคไข้เลือดออกบ้านประตูเขียน หมู่ที่ 5 โดยประชาชนมีส่วนร่วม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อสม. ร่วมใจ เร่งรัดจัดการโรคไข้เลือดออกบ้านประตูเขียน หมู่ที่ 5 โดยประชาชนมีส่วนร่วม



บทคัดย่อ

โครงการ " อสม. ร่วมใจ เร่งรัดจัดการโรคไข้เลือดออกบ้านประตูเขียน หมู่ที่ 5 โดยประชาชนมีส่วนร่วม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,336.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันไข้เลือดออก กำลังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุข และการแพทย์แห่งประเทศไทย เพราะในแต่ละปีมีผู้ป่วยกันทุกภาค และเป็นจำนวนมากทั้งเด็กและผู้ใหญ่ จะพบมากในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี มีทั้งป่วย ป่วยหนัก
และเสียชีวิต โรคนี้ระบาดมากในฤดูฝน เพราะยุงลายชุกชุม เกิดจากการทำความสะอาดไม่ทั่วถึง มีขยะตกค้าง มีน้ำขัง จึงเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุง โดยเฉพาะยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนย่า ยุงสามารถแพร่ขยายโรคไปอย่างรวดเร็วและขยายเชื้อให้คนใกล้เคียงได้อย่างรวดเร็ว ข้อมูลการป่วยโรคไข้เลือดออกจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม พบว่าในปี 2559 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 16 ราย ในปี 2560 -2561 ไม่พบผู้ป่วยในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลม่วงงาม ในปี 2562 นี้ อสม. หมู่ที่ 5 ตำบลม่วงงาม จึงร่วมมือกับจิตอาสา ประชาชน และผู้นำชุมชน ร่วมใจกันเฝ้าระวัง และเร่งรัดกำจัดโรคทั้งภายในและภายนอกชุมชน เพื่อเพิ่มคุณภาพ ความปลอดภัยให้กับประชาชน ออย่างครอบคลุมในพื้นที่ หมู่ที่ 5 อย่างรวดเร็ว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ประชาชนตื่นตัวเข้าร่วมกิจกรรม
  2. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนย่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีประชาคม
  2. จัดกิจกรรมอบรม อสม. จิตอาสา ประชาชน และ อสม.น้อย
  3. อสม. และจิตอาสา ประชาชน อสม.น้อย เดินรณรงค์ในหมู่ที่ 5
  4. กิจกรรมกำจักลูกน้ำยุงลาย กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
  5. ติดป้ายประชาสัมพันธ์ให้ชัดเจน
  6. ค่าเช่าเครื่องเสียง
  7. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนทุกคนในหมู่ที่ 5 ไม่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไข้ชิคุนกุนย่า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. โครงการ อสม. ร่วมใจ เร่งรัด จัดการไข้เลือดออก บ้านประตูเขียน หมู่ที่ 5 โดยประชาชนมีส่วนร่วม ต.ม่วงงาม อ.สิงหนคร
  2. วัตถุประสงค์
  3. เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ประชาชนตื่นตัวเข้าร่วมกิจกรรม
  4. เพื่อลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา
  5. ตัวชี้วัด
  6. ประชาชนทุกหลังคาเรือนเข้าร่วมกิจกรรม
  7. ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา 4 ผลการดำเนินงาน กิจกรรมเวทีประชาคม -จำนวนผู้เข้าร่วม....80 ........คน

- ผู้เข้าร่วมประชาคม 1.ประชาชน ......80.........คน โดยการนำของนายจรรยา บูรณะ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 เป็นตัวแทน สปสช. ทม.ม่วงงาม ทำพิธีเปิด และผู้ใหญ่บ้านหมู่ 5 เป็นตัวแทนประชาชนหมู่ 5 ร่วมกิจกรรม 2. อสม. 15 คน โดยการนำของประธาน จุรี หนูคง อสม. ม.6 แนะนำ อสม. ที่รับผิดชอบในแต่ละเขต และบมบาทของ อสม. ที่จะช่วยเหลือชาวบ้าน 3. ผู้สูงอายุ โดยการนำของนางอุดม แก้วจันทร์ แนะนำการป้องกันกำจักลูกน้ำยุงลาย เพื่อสุขภาพของชาวบ้าน 4. ผู้นำชุมชน กระจายข่าวปรับเปลี่ยนภาชนะที่มีน้ำขังต้องถ่ายเททุกๆวัน โดยให้ชาวบ้านทำตามสติกเกอร์ที่ อสม. ติดไว้ที่บ้านทุกหลังคาเรือน 5.เทศบาลเมืองม่วงงาม โดยการนำของนายประสาน เหล๊าะเหม และเจ้าหน้าที่ 3 ท่าน ทางเทศบาลจะกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยการพ่นหมอกควันและใส่ทรายอะเบท 6.รพ.สต. โดยการนำของนายสมมาศ วิไลประสงค์ และคณะเข้าร่วมประชาคมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า 7. โรงเรียนวัดประตูเขียน โดยการนำของผู้อำนวยการโรงเรียนวัดมะขามคลาน และคณะครูร่วมกิจกรรมให้ความรู้ อสม. น้อย เพื่อได้ทำงานกับ อสม. ประจำหมู่บ้าน กิจกรรมรบรม อสม. น้อย จำนวน....50.....คน - เบิดรับสมัครนักเรียนจากโรงรียนวัดประตูเขียน จำนวน........50 .........คนและอาจารย์......3.....ท่าน เข้าร่วมความรู้และข้อปฏิบัติในโรงรียนและที่บ้านของนักเรียนในการกำจัดลูกน้ำยุลาย กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่โรงเรียน บ้านของนักเรียน ตลอดถึงบ้านเพื่อนๆ และทำงานร่วมกับ อสม.ประจำหมู่บ้าน กิจกรรมเดินรณรงค์โดย อสม.น้อย จิตอาสาผู้นำชุมชน และประชาชน มีการเดินรณรงค์ในพื้นที่ หมู่ที่......5.......ต.ม่วงงาม โดย 1.ชักชวนให้ทุกบ้านใช้และทำ 5 ป. ตามขั้นตอนของสติกเกอร์ 2. ติดสติกเกอร์ที่ฝาบ้าน เพื่อเป็นการเตือนความจำ 3. แจกทรายอะเบทและให้คำแนะนำขั้นตอนการใช้ 4, ขอความร่วมมือในการกำจัดขยะ รอบๆ บ้าน เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง โดย อสม. จะนำถุขยะหมาให้ กิจกรรมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย โดย อสม. และเจ้าบ้าน อสม. ลงพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ คนละ 10-15 หลังคาเรือน เพื่อชักชวนเจ้าบ้านกำจัดลูกน้ำ ยุงลาย กำจัดแหล่งพะพันธุ์ยุง ในบริวณรอบๆ บ้านของตนอง พร้อมกับตรวจหาลูกน้ำโดยใช้ ไฟฉายที่นำติดตัวมาส่องไปในที่บรรจุน้ำทุกชนิด มอบทรายอะเบทให้ ไว้ครัวละ 3-5 ซอง สำหรับ ใช้ในครั้งต่อไป ครั้งที่ 2 จะนัดหมายอีกครั้งในเดือนต่อไป คือวันที่ 7 ก.ย. 62 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง/จุดเด่น 1. ควรจัดสรรบประมาณให้รวดเร็วขึ้นและมากตามจำนวนประชากรในแต่ละหมู่บ้าน 2 การทำเอกสารควรคำนึงถึงความรู้ของ อสม.ด้วย ส่วนมาจะจบ ป.4-ป.6 เท่านั้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ประชาชนตื่นตัวเข้าร่วมกิจกรรม
ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกหลังคาเรือนอเข้าร่วมกิจกรรม
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนย่า
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนย่า
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระแสสังคมให้ประชาชนตื่นตัวเข้าร่วมกิจกรรม (2) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนย่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีประชาคม (2) จัดกิจกรรมอบรม อสม. จิตอาสา ประชาชน และ อสม.น้อย (3) อสม. และจิตอาสา ประชาชน อสม.น้อย เดินรณรงค์ในหมู่ที่ 5 (4) กิจกรรมกำจักลูกน้ำยุงลาย กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง (5) ติดป้ายประชาสัมพันธ์ให้ชัดเจน (6) ค่าเช่าเครื่องเสียง (7) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อสม. ร่วมใจ เร่งรัดจัดการโรคไข้เลือดออกบ้านประตูเขียน หมู่ที่ 5 โดยประชาชนมีส่วนร่วม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลม่วงงาม ม.5 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด