กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเข้าใจ เข้าถึง ข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอูยิ
รหัสโครงการ 62-L2514-1-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ
วันที่อนุมัติ 22 กรกฎาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซัซวานี หะยียะโกะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.343,101.59place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ส.ค. 2562 31 ส.ค. 2562 15,000.00
รวมงบประมาณ 15,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อบำบัดผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง

ร้อยละ ๘๐ ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีอาการปวดลดลง

80.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นนำมาทำยาพอกเข่า

ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นนำมาทำยาพอกเข่าได้ด้วยตนเองและรู้จักสมุนไพรและสรรพคุณของสมุนไพรที่นำมาพอก

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ขั้นวางแผน (Plan) ๑. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ๒. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๓. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบงาน ๔. ประชุม/ประสาน อสม.เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ขั้นดำเนินการ (Do) ๑. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม.เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ๒. จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมและผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดเข่าในตำบลลาโละ มาเข้าร่วมโครงการ ๓. จัดกลุ่มให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า สาธิตการทำยาพอกเข่าสมุนไพร สอนการนวดด้วยตนเอง สาธิตการบริหารด้วยท่าดัดตน และการให้คำแนะนำผู้เข้าร่วมโครงการ ๔. แจกแผ่นพับความรู้เรื่องการดูแลสุขของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ขั้นตรวจสอบและประเมินผล(Check) ๑. ประเมินจากจำนวนผู้เข้าร่วมอบรม ๒. ติดตามและประเมินผลจากแบบสอบถามก่อนเข้าการอบรม หลังการอบรม และประเมินจาก Pain score ก่อน ๓. สรุปผลการดำเนินงาน ขั้นปรับปรุงและพัฒนา(Action) ๑.รายงานผลการดำเนินงาน ๒.ประชุมร่วมกันเพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ๓.ปรับปรุง/พัฒนาวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.. ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถบรรเทาอาการปวดเข่าได้ด้วยตนเองทำให้ประชาชนเข้าถึงงานบริการด้านการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการสาธารณสุขมากขึ้น ๒. ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีอาการปวดเข่าลดลงจากเดิมและไม่เป็นอุปสรรคในการทำกิจวัตรประจำวัน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2562 12:34 น.