กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์


“ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ปี 2562 ”

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
อสม.เทศบาลตำบลเมืองรามันห์

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 005 เลขที่ข้อตกลง ............/62

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเป็นโรคที่ต้องมีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เช่น โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โรคไข้เลือดออก โรคสุกใส โรควัณโรค โรคมือเท้าปาก ฯลฯ การแพร่ระบาดของโรคติดต่อมักมีโอกาสที่จะแพร่กระจายได้ง่ายและรวดเร็ว ผลกระทบที่ร้ายแรงคือการทำให้อวัยวะทุกส่วนในร่างกายล้มเหลว อาจถึงแก่ชีวิตได้ จากการคืนข้อมูลสุขภาพของชุมชน พบว่า สถานการณ์โรคติดเชื้อในชุมชนยังคงมีโรคที่ระบาดอยู่เป็นประจำทุกปี และผู้ป่วยได้รับความทุกข์ทรมานจากการเป็นโรคและสูญเสียค่าใช้จ่ายจากการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น จากรายงานโรคติดต่อที่พบบ่อยเทศบาลตำบลเมืองรามันห์ พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โดยในปี 2560-2562 โรคอุจจาระร่วงมีจำนวนทั้งสิ้น 78 ราย,91รายและ100 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ1422.00, 1481.00และ1523.00 ต่อประชากรแสนคน (ตามลำดับ), โรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น5ราย,6รายและ9 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 118.00, 121.07และ 137.07 ต่อประชากรแสนคน(ตามลำดับ), โรคสุกใส จำนวนทั้งสิ้น 5ราย,8รายและ13 ราย คิดเป็นอัตราป่วย142.66, 173.00และ 197.99 ต่อประชากรแสนคน(ตามลำดับ), โรควัณโรค จำนวนทั้งสิ้น 5ราย,7รายและ8 ราย คิดเป็นอัตราป่วย91.22, 101.36และ 121.84 ต่อประชากรแสนคน(ตามลำดับ), โรคมือเท้าปาก จำนวนทั้งสิ้น 7ราย,11รายและ16 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 182.29, 226.43และ243.68 ต่อประชากรแสนคน(ตามลำดับ) ซึ่งจากการระบาดของโรคติดต่อดังกล่าว อาจทำให้มีโอกาสเกิดโรคระบาดซ้ำอยู่ในปีถัดไป ซึ่งอาจมีปัจจัยของภัยสุขภาพอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องได้แก่ ขยะ มูลสัตว์ น้ำโสโครกที่ทำให้เกิดโรคกับประชาชนในชุมชนได้ เช่น ถังขยะไม่มีการเก็บที่มิดชิด เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน สุนัขหรือแมวกัดกินอาหารและขยะตามถังเก็บขยะที่ตั้งอยู่หน้าบ้าน, น้ำขังในบ้านเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ดังนั้นหากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไข เร่งสร้างความตระหนักในการป้องกันโรค และสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการกำจัดโรคในชุมชนอย่างเหมาะสม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคติดต่อและปัจจัยของภัยสุขภาพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงดำเนินการจัดโครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ปี2562 ขึ้น เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน เป็นการสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร่างสุขภาพที่ดี ส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนของและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคติดต่อ ข้อที่ 2 .เพื่อเฝ้าระวังการเกิดการระบาดของโรคเรื้อนและโรควัณโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม สมารถป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อได้
    2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อนและโรควัณโรค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคติดต่อ ข้อที่ 2 .เพื่อเฝ้าระวังการเกิดการระบาดของโรคเรื้อนและโรควัณโรค
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในตำบลกายูบอเกาะลดลงจากปีที่แล้ว ร้อยละ 10 2. ระดับความสำเร็จของการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 80 3. ระดับความสำเร็จของการค้นหา คัดกรองโรคเรื้อนในประชาชน ร้อยละ 85
    100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคติดต่อ ข้อที่ 2 .เพื่อเฝ้าระวังการเกิดการระบาดของโรคเรื้อนและโรควัณโรค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ปี 2562 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 005

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อสม.เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด