กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฟารีด๊ะห์ แวกะจิ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3070-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 2562 ถึง 9 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3070-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 สิงหาคม 2562 - 9 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเอดส์ หรือโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS : Acquired Immune Deficiency Syndrome) เกิดจากการติดเชื้อไวรัสมีชื่อว่า ฮิวแมนอิมมิวโนเดฟีเซียนซีไวรัส (Human Immunodeficiency Virus :HIV) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า เชื้อเอชไอวี โดยเชื้อเอชไอวีจะเข้าไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีหน้าที่สร้างภูมิคุ้มกันโรค ทำให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อมีภูมิคุ้มกันต่ำลง จนร่างกายไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคได้อีก โรคต่าง ๆ (หรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่า โรคฉวยโอกาส) จึงเข้ามาซ้ำเติมได้ง่าย เช่น วัณโรค ปอดบวม ติดเชื้อในระบบโลหิต เชื้อรา ฯลฯ และทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด โรคเอดส์ เป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญทางการสาธารณสุขของประเทศ และส่วนใหญ่พบว่า มีการระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มวัยรุ่น เนื่องจากเป็นวัยอยากรู้อยากลอง ติดเพื่อนมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย และอารมณ์ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ ย่อมส่งผลกระทบต่อตัวเด็กวัยรุ่น และจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง สื่ออนาจาร และความรุนแรงควบคุมได้ยาก ส่งผลให้กลุ่มวัยรุ่นมีความอยากรู้อยากลอง มีการคบกันแบบแฟนในช่วงอายุน้อย ขาดความยับยั้งชั่งใจ ส่งผลให้เกิดผลกระทบตามมาในหลายด้าน เช่น ปัญหาตั้งครรภ์ในวัยเรียน ปัญหาติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาต้องออกนอกระบบการศึกษา ปัญหายาเสพติด ฯลฯ โดยเฉพาะโรคเอดส์ในเด็กวัยรุ่น เป็นปัญหาที่สำคัญ และร้ายแรง เพราะโรคเอดส์เป็นโรคติดต่อที่รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะทำให้ป่วยเป็นโรคนี้ตลอดชีวิตไม่มียารักษาให้หายขาดได้ การรักษาต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง และเป็นที่น่ารังเกียจของบุคคลทั่วไป ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นสาเหตุที่ต้องมีการส่งเสริมความรู้ให้แก่เด็กวัยรุ่นในการเรียนรู้ที่จะเข้าใจ ป้องกันตนเอง
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางชมรมอาสาสาธารณสุขมูลฐานตำบลยาบี ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเอดส์ ในการป้องกันโรคให้แก่เด็กและเยาวชนในตำบลยาบี ด้านการป้องกันตนเอง และผู้อื่น จึงได้มีการจัดทำโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ ขึ้น โดยจัดให้มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิ เช่น การอบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ในการป้องกันโรคเอดส์ ให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ และเพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน รวมถึงประชาชนทั่วไปในพื้นที่ตำบลยาบีมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
  2. เพื่อให้ความรู้…ความเข้าใจเรื่องการป้องกันโรคเอดส์
  3. เพื่อลดการติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องปัญหาและป้องกันโรคเอดส์
  2. กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านให้กำลังใจผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
  3. กิจกรรมเดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคเอดส์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1..เด็กและเยาวชน…และประชาชนในตำบลยาบีมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
2..กลุ่มเป้าหมายมีความรู้…ความเข้าใจเรื่องปัญหา…และการป้องกันโรคเอดส์
3..จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบีมีจำนวนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมายเด็กเเละเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์ รู้สาเหตุของการเกิดโรคเอดส์ วิธีการป้องกันโรคเอดส์ จากกิจกรรมการถามตอบของวิทยากรหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมการอบรมกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยเเพร่ให้กับเพื่อนหรือบุคคลอื่นได้ จากกิจกรรมการอภิปรายเเลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดกิจกรรม เเละจากกิจกรรมดังกล่าวทำให้ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลยาบี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม…จำนวน…60..คน..เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาป้องกันและแก้ปัญหาโรคเอดส์…โดยเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ให้คนในพื้นที่ตระหนัก…เกรงกลัวในโรคเอดส์
90.00 100.00

 

2 เพื่อให้ความรู้…ความเข้าใจเรื่องการป้องกันโรคเอดส์
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม…จำนวน.60..คน…มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันโรคเอดส์และสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นได้
60.00 100.00

 

3 เพื่อลดการติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ติดเชื้อเอดส์รายใหม่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลยาบี
95.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี (2) เพื่อให้ความรู้…ความเข้าใจเรื่องการป้องกันโรคเอดส์ (3) เพื่อลดการติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ตำบลยาบี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องปัญหาและป้องกันโรคเอดส์ (2) กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านให้กำลังใจผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ในพื้นที่ตำบลยาบี (3) กิจกรรมเดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคเอดส์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทัน รู้จักเลี่ยง ไม่เสี่ยงเอดส์ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3070-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฟารีด๊ะห์ แวกะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด