กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ ”

ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายแวโซะ แวนาแว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3071-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2562 ถึง 14 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3071-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 สิงหาคม 2562 - 14 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,835.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสร็จ ยังคงเป็นจริงอยู่เสมอ กระแสเรื่องของการรักษาสุขภาพนับว่าเป็นกระแสที่ยังคงได้รับความสำคัญ การใช้สมุนไพรรักษาโรคนับว่าได้รับความนิยมมากขึ้นในสังคมปัจจุบัน จะเห็นได้จากที่บริษัทต่าง ๆ ได้ผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรเผยแพร่ออกสู่ตลาดกันมากขึ้น และ ผลิตภัณฑ์หลายชนิดก็ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เช่น ผลิตภัณฑ์จากโรงพยาบาล “อภัยภูเบศร” หลายคนสนใจที่จะเลือกซื้อสินค้าที่มีส่วนผสมของสมุนไพรกันมากขึ้น เวลาจะเลือกซื้อสินค้า การใช้สมุนไพรมีการพัฒนาไปในหลากหลายรูปแบบ ทั้งเป็นเวชภัณฑ์ยา เพื่อการป้องกันและรักษาโรค เพื่อบำรุงร่างกาย และเพื่อใช้เป็นเวชสำอาง เป็นต้น การนำสมุนไพรมาใช้เป็นยารักษาโรคถึงแม้จะได้รับความนิยม ลดน้อยลงไปด้วยวิทยากรสมัยใหม่ที่เข้ามาแทนที่ แต่หากเราเรียนรู้และศึกษาให้เข้าใจ จริง ๆ จะพบว่าการใช้ยาสมุนไพรจะเป็นตัวช่วยอีกทางหนึ่งในโรคอีกหลาย ๆ โรค และพบว่าบางคนก็หายจากโรคภัยไข้เจ็บด้วยสมุนไพร เช่น โรคมะเร็ง  อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคความดัน เบาหวาน โรคกระดูก แม้กระทั่งการแก้พิษต่าง ๆ ทั้งภายใน ภายนอก  หากศึกษา พัฒนา และเรียนรู้ที่จะใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ เข้ามาทำความเข้าใจถึงสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตัวสมุนไพร ก็จะทำให้เกิดการยอมรับการใช้สมุนไพรกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น การรักษาโรคด้วยสมุนไพรที่ผ่านมา มักจะได้รับการสืบทอดกันมาอย่างยาวนานจากบรรพบุรุษ ในรูปแบบของตำรายาแผนโบราณ แพทย์แผนไทย แพทย์แผนจีน เป็นต้น การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ นับได้รับความนิยมตามกระแสการรักสุขภาพ และอีกทั้งยังช่วยลดปัญหาเรื่องของความเสี่ยง จากผลกระทบของการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มีผลกระทบต่ออวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย อย่างไรก็ตามการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคต่าง ๆ จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ใช้สมุนไพร จะต้องศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงประโยชน์และโทษของสมุนไพร รวมทั้งผลกระทบข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้สมุนไพร
ดังนั้น ชมรมรักษ์สุขภาพตำบลลิปะสะโง จึงได้มีแนวคิดในการเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ โดยนำกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นแกนนำของชุมชนมาอบรมให้ความรู้ตามโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 101
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. แกนนำของชุมชนมีความในเรื่องสมุนไพรไทยที่นำมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ ๒. มีการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ ๓. เป็นการอนุรักษ์สมุนไพรและส่งเสริมการใช้สมุนไพรพื้นบ้านเป็นยาในการรักษาโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 14 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำของชุมชนในด้านการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำของชุมชนมีความรู้ในเรื่องสมุนไพรไทยที่นำมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ
  2. มีการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ
  3. เป็นการอนุรักษ์สมุนไพรและส่งเสริมการใช้สมุนไพรพื้นบ้านเป็นยาในการรักษาโรค

 

101 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 101
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 101
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการบริโภคและดูแลรักษาสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3071-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแวโซะ แวนาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด