กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง ”
ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางฉลองรัฐจันทระโชติกุล




ชื่อโครงการ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง

ที่อยู่ ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60L33541005 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60L33541005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมาก ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา แม้ว่ามีความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและวิทยาการทางการแพทย์อย่างมากในเวลาเดียวกัน แต่กลับพบว่ามีประชากรที่มีโรคเรื้อรังมากกว่าร้อยละ 50 ที่ได้รับการดูแลต่ำกว่ามาตรฐาน ภาครัฐต้องเสียงงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถึงปีละ 335,359 ล้านบาทซึ่งเป็นปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะด้านคุณภาพของทรัพยากรณ์มนุษย์ ทำให้ประชากรเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เกิดการสูญเสียศักยภาพในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยและโรคแทรกซ้อน นอกจากจะเพิ่มภาวะแก่คนรอบข้างแล้ว ยังสร้างภาระแก่สังคมโดยรวม จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปลวกร้อน ปีงบประมาณ 2558 และ 2559 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 442 คน และ 461 คน ตามลำดับ มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 178 คนและ 187 คน ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าวรับยาในคลินิกเติมยา จำนวน 150 คน จำนวนผู้ป่วยรับที่เพิ่มขึ้นทุกปี อาจทำให้ประสิทธิภาพในการดูแลลดลง เนื่องจากไม่มีเวลาในการพูดคุย และมีผู้ป่วยบางรายไม่มารับยาตามนัด เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและร่วมกันดูแลสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปลวกร้อนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ่น เพื่อเสริมสร้างความรู้ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยหรือญาติผู้ดูแลและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นหากไม่มีการดูแลตนเองที่ถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ด้านสุขภาพระหว่างกลุ่มผู้ป่วยด้วยกัน
  3. เพื่อติดตามการรักษา และเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ป่วยเรื้อรังและญาติมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง รับยาสม่ำเสมอ 2.ผู้ป่วยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน สามารถปรับตัวกับภาวะการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ 3.ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยหรือญาติผู้แล

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและญาติที่รับยาแทน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการดำเนินงานตามโครงการ 1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/ญาติผู้ดูแลในคลินิกเติมยา จำนวน 150 คน ร้อยละ 91.25 มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง การรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคและดูแลสุขภาพตนเอง 2.อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีระดับ FBS อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ จำนวน 28 คน จากจำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 51.85 3.อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ จำนวน 74 คน จากจำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 77.08 4.ผู้ป่วยเบาหวานพบความผิดปกติที่เข้าส่งพบแพทย์ จำวนวน 3 คน จากจำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 5.55 ปัญหาและอุปสรรค 1.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคยังขาดความต่อเนื่อง และไม่มาตามนัด 2.ขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการโรคเรื้อรัง และการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดการเกิดโรคมีน้อย แนวทางแก้ปัญหา 1.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับ อสม. ออกติดตามเป็นระยะและต่อเนื่อง และเฉพาะเจาะจงเป็นรายบุคคลในแต่ละหมู่ 2.จัดการให้มีกระบวนการ/ภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วย/จัดการโรคเรื้อรัง และการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดการเกิดโรค 3.พัฒนาโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

     

    150 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง

     

    2 เพื่อให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ด้านสุขภาพระหว่างกลุ่มผู้ป่วยด้วยกัน
    ตัวชี้วัด : เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    3 เพื่อติดตามการรักษา และเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ด้านสุขภาพระหว่างกลุ่มผู้ป่วยด้วยกัน (3) เพื่อติดตามการรักษา และเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื่้อรัง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60L33541005

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฉลองรัฐจันทระโชติกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด