กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน


“ โครงการกินดี อยู่ดี เริ่มด้วยตัวเราเอง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ”

ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายทวี เกื้อเส้ง ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 8

ชื่อโครงการ โครงการกินดี อยู่ดี เริ่มด้วยตัวเราเอง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน

ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L-62 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกินดี อยู่ดี เริ่มด้วยตัวเราเอง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี อยู่ดี เริ่มด้วยตัวเราเอง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกินดี อยู่ดี เริ่มด้วยตัวเราเอง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L-62 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 8 ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร ทำสวนยางพารา ในการปลูกสวนยางพารา ในการทำสวนยางพาราแต่ละครั้งใช้ต้นทุนสูงมาก เพราะใช้ปุ๋ยซึ่งเป็นปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง เพื่อปราบศรัตตรูพืช ตลอดจนสารเพิ่มผลผลิต ปริมาณมากขึ้นทุกปีแต่ราคายางพารามีราคาตกต่ำ เกษตรกรประสบปัญหาต่อเนื่องมาตลอดและยังส่งผลไปถึงชุมชนทำให้คนเจ็บป่วยมากขึ้น เพราะสภาพแวดล้อมทั่วไปทุกวันนี้ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรดิน น้ำ สิ่งแวดล้อมทั้งหลาย ส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่สะสมสารพิษตกค้าง ส่งผลกระทบทำให้คนที่อยู่ในชุมชนรับรปะธานอาหารเข้าไปสะสมในร่างกาย ทำให้มีผลกระทบโดยตรงคือผู้บริโภค ทำให้ประชาชนเกิดปัญหาเรื่องสุขภาพมากขึ้น มองเห็นแล้วว่าเป็นต้นเหตุปัญหาสุขภาพที่สำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปนเปื้อนสารเคมี ผัก ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศรัตตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุผลทางการค้าและพานิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างมาก และยากที่จะหลีกเลี่ยง มีคนเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆมากมาย สอดคล้องกับผลการสำรวจข้อมูลสุขภาวะชุมชนของหมู่บ้านทุ่งผีปั้นรูป พบว่า ประชาชนหมู่บ้านทุ่งผีปั้นรูปประสบปัญหาด้านสุขภาวะด้านร่างกายในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านป่าบอนต่ำมากที่สุด คือ เบาหวาน 100 ราย ความดันโลหิตสูง 179 ราย จากจำนวนประชากรทั้งหมด 1,791 คน     จากสถานการณ์ดังกล่าวคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 มีประชากร 1,791 คน ได้ตระหนักต่อผลการป่วยเป็นโรคที่มีผลเสียต่อสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการกินดี อยู่ดี เริ่มต้นที่ตัวเรา ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนขึ้น เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านปลูกผักรับประทานเอง ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่จะช่วยให้ประชาชนในหมู่บ้านได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ปราศจากสารเคมี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน โดยการปลูกผักในพื้นที่ว่างบริเวณบ้านไว้เพื่อบริโภคเอง ทั้งนี้ยังเป็นการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
  2. เพื่อให้ครัวเรือนแต่ละครัวเรือนสามารถลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
  3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยฌรคเรื้อรังมีจำนวนลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1ประชาชนในหมู่บ้านได้บริโภคผักปลอดสารพิษ 2ครัวเรือนแต่ละครัวเรือนสามารถลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว 3ประชากรกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
    ตัวชี้วัด : 1.80 เปอร์เซ็น ของครัวเรือนเป้าหมายมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภค
    0.00

     

    2 เพื่อให้ครัวเรือนแต่ละครัวเรือนสามารถลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
    ตัวชี้วัด : 2.80 เปอร์วเซ็น ของครัวเรือนเป้าหมายมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภค
    0.00

     

    3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยฌรคเรื้อรังมีจำนวนลดลง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้บริโภคผักปลอดสารพิษ (2) เพื่อให้ครัวเรือนแต่ละครัวเรือนสามารถลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยฌรคเรื้อรังมีจำนวนลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกินดี อยู่ดี เริ่มด้วยตัวเราเอง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ L-62

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทวี เกื้อเส้ง ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด