กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร


“ โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก ”

ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกมลรัตน์ สุวรรณรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสุขภาพในช่องปากเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในเด็กนักเรียน เมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกัน ทั้งนี้สาเหตุอาจมาจากพฤติกรรมด้านสุขภาพของเด็กที่เสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคในช่องปาก เนื่องจากการบริโภคขนมหวานและขาดการดูแลเอาใจใส่ของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็กในการดูแลสุขภาพช่องปาก เช่น การสอนให้แปรงฟันที่ถูกวิธีและการดูแลให้แปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ ประกอบกับเด็กนักเรียนส่วนใหญ่ยังเป็นเด็กเล็กทำให้ดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตัวเองได้ค่อนข้างน้อย ต้องอาศัยผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยงช่วยดูแลเรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีและสม่ำเสมอ ทางโรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนา ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าโรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในช่องปากขึ้น เพื่อสร้างและฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดี ที่จะช่วยส่งเสริมและลดปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก โดยรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีการแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำด้านการแปรงฟันที่ถูกวิธีและการดูแลสุขภาพในช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 365
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีแกนนำนักเรียนที่มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพในช่องปาก และสามารถเป็นตัวแทนในการเผยแพร่ความรู้แก่นักเรียนคนอื่นๆได้
        2. นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก โดยรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีการแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ     3. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพในช่องปาก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำด้านการแปรงฟันที่ถูกวิธีและการดูแลสุขภาพในช่องปาก

วันที่ 19 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.  เพื่อสร้างนักเรียนแกนนำด้านทันตสุขภาพในโรงเรียน 2.  เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปาก 3.  เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพในช่องปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนาได้มีการจัดตั้งนักเรียนแกนนำด้านทันตสุขภาพในโรงเรียนห้องเรียนละ 2  คน โดยให้แกนนำได้ผ่านการอบรมจากเจ้าหน้าที่โดยตรง และจะคอยทำหน้าที่ในการดำเนินการตรวจฟันและให้ข่าวสารความรู้วิธีการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันที่ถูกวิธี และการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านทันตกรรมแก่นักเรียนในโรงเรียน บรรลุความสำเร็จของโครงการนักเรียนแกนนำได้อบรมและสามารถให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนได้
  2. นักเรียนร้อยละ 95 แปรงฟันอย่างสม่ำเสมอทั้งตอนเช้า กลางวัน และก่อนนอน โดยทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน และมีแบบการประเมินสุขภาพในช่องปากเพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการประเมินพฤติกรรมการแปรงฟันของนักเรียนตอนเช้า และก่อนนอนเพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลรักษาฟัน ผลจากการแระเมินพฤติกรรมการแปรงฟันของนักเรียนโรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษาวัฒนาบรรลุความสำเร็จของโครงการได้ร้อยละ 95.37
  3. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพในช่องปากตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพปีละ 2 ครั้ง แบ่งเป็นภาคเรียนละ 1 ครั้งโดยตรวจจากคุณครูประจำชั้นและเจ้าหน้าที่ทันตกรรมของโรงพยาบาลโดยตรง บรรลุความสำเร็จของโครงการได้ร้อยละ 100

 

365 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก โดยรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีการแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก โดยรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีการแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ
365.00 365.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 365 365
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 365 365
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและการรักษาสุขภาพช่องปาก โดยรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีการแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำด้านการแปรงฟันที่ถูกวิธีและการดูแลสุขภาพในช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกมลรัตน์ สุวรรณรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด