โครงการกำจัดเหาให้หนูน้อย
ชื่อโครงการ | โครงการกำจัดเหาให้หนูน้อย |
รหัสโครงการ | 62-L1492-03-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโต๊ะหมิง |
วันที่อนุมัติ | 4 กรกฎาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 20 กันยายน 2562 - 20 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 20 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโต๊ะหมิง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาโต๊ะหมิง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.548427333,99.52221494place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 47 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การดูแลความสะอาดของร่างกายในวัยเรียนเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะทั้งนี้เหาเป็นแมลงขนาดเล็กไม่มีปีก เป็นตัวเบียดเบียนกัดหนังศีรษะ และดูดเลือดเป็นอาหารโดยอาศัยบนศรีษะที่ไม่สะอาด เหามักจะแพร่กระจายในกลุ่มนักเรียนก่อนประถมและประถมศึกษา ซึ่งอยู่ในช่วยอายุระหว่าง 4-14 ปี เหาเป็นโรคที่ก่อให้เกิดความรำคาญทำให้ขาดสมาธิ เสียบุคลิกภาพในการเรียน และยังก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางได้ด้วย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อกำจัดเหาเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโต๊ะหมิง จัดอบรมให้ความรู้แก่เด็กและมีความรู้เพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 90 (โดยใช้แบบสอบถามประเมินก่อน - หลังปฏิบัติ) |
1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 20,000.00 | 0 | 0.00 | |
20 ก.ย. 62 | โครงการกำจัดเหาให้หนูน้อย | 0 | 20,000.00 | - |
1.จัดทำแผนงานโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาโต๊ะหมิง 2.ประสานจัดหาวิทยากร 3.ประชุมคณะทำงานชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน 4.จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการกำจัดเหาแก่เด็ก 47 คน ผู้ปกครอง 47 คน ครู 5 คน เจ้าหน้าที่กองการศึกษา 3 คน 5.ประเมินผลโครงการ 6.สรุปผลการทำโครงการ
1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโต๊ะหมิง ลดอัตราการเป็นเหา 2.เด็กได้มีสมาธิและบุคลิกภาพในการเรียนมากขึ้น 3.ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้เรื่องการกำจัดเหา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ส.ค. 2562 21:30 น.