กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค


“ โครงการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน ”

ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางฉลองรัฐจัทระโชติกุล

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60L33541006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60L33541006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเริ่มมีการรายงานการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างชัดเจน ในปี พ.ศ.2501 โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ตรวจพบในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่นั้นมาก็มีรายงานการระบาดกระจายออกไปทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2530 มีรายงานผู้ป่วยสูงสุดในประเทศไทยเท่าที่เคยมีรายงานพบผู้ป่วยมีจำนวน 175,285 ราย ตาย 1,007 ราย การกระจายของโรคมีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่อยู่ตลอดเวลา ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการแพร่กระจายของโรคมีความซับซ้อนและแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ คือ ภูมิต้านทานของประชาชน ชนิดของเชื้อไวรัสเดงกี ความหนาแน่นของประชากรและการเคลื่อนย้ายสภาพภูมิอากาศ ชนิดของยุงพาหะ การขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักของประชาชนในการที่จะกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ความตั้งใจจริงของเจ้าหน้าที่ของรัฐในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และนโยบายของผู้บริหาร สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นสิ่งที่มีการแปรเปลี่ยนและมีผลกระทบอย่างต่อเนื่องกับการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกเป็นอย่างยิ่ง และยังมีส่วนทำให้รูปแบบการเกิดโรคมีความผันแปรไปในแต่ละปี (สำนักโรคไม่ติดต่อนำโดยแมลง,2556)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน
  3. เพื่อลดการระบาดและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมุ่บ้านมีความรู้และทักษะในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในชุมชนเพิ่มขึ้น 2.ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกที่ดีขึ้น 3.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องไข้เลือดออกและโรคระบาดตามฤดูกาล

    วันที่ 4 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประเมินผล 1.ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ดีขึ้น 2.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ในแต่ละหมู่บ้านน้อยกว่าร้อยละ 10 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน 1.การระบาดของโรคไข้เลือดออกในอำเภอเมืองพัทลุง ทำให้อัตราป่วยเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 2.งบประมาณในการจัดซื้อทรายอะเบทกำหนดไว้น้อยเกินไป เนื่องจากคิดว่าจะมีการสนับสนุนจากคิดว่าจะมีการสนับสนุนจาก สนง.ทต.ท่าแคเหมือนปีที่ผ่านมา 3.ประชาชนยังขาดความตระหนักในการป้องกันและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ข้อเสนอแนะ 1.ขอสนับสนุนทรายอะเบทเพิ่มขึ้นในปีต่อไป เพื่อให้เพียงพอในการใช้งาน 2.เพิ่มกิจกรรมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายหรือควบคุมการระบาดของโรค

     

    75 75

    2. กิจกรรม Big Clearning DaY

    วันที่ 12 กันยายน 2560 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) ในแต่ละหมู่บ้านน้อยกว่าร้อนละ 10

     

    150 150

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครมีศักยภาพในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก

     

    2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก

     

    3 เพื่อลดการระบาดและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : การระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน (3) เพื่อลดการระบาดและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60L33541006

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฉลองรัฐจัทระโชติกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด