กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู


“ โครงการ "แสงแห่งความหวัง" สร้างพลังใจผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตำบลลำภู ปี ๒๕๖๒ ”

ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางจิรภา พูลเทพ

ชื่อโครงการ โครงการ "แสงแห่งความหวัง" สร้างพลังใจผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตำบลลำภู ปี ๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 01/8/2562 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ "แสงแห่งความหวัง" สร้างพลังใจผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตำบลลำภู ปี ๒๕๖๒ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ "แสงแห่งความหวัง" สร้างพลังใจผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตำบลลำภู ปี ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ "แสงแห่งความหวัง" สร้างพลังใจผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตำบลลำภู ปี ๒๕๖๒ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 01/8/2562 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ด้านสุขภาพของประเทศไทยมีการพัฒนาไปอย่างก้าวไกล การเปลี่ยนแปลงของโรคที่เป็นปัญหาและเป็น สาเหตุการตายในทศวรรษนี้แตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับในหลายทศวรรษก่อน ปัจจุบันสาเหตุการป่วยร้อยละ 71 มีสาเหตุมาจากโรคไม่ ติดต่อ (Global Health Observatory, WHO) สาเหตุการตายเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากมีจำนวนผู้สูงอายุมากขึ้น การตายอันดับต้นของ ประเทศไทยคือ โรคมะเร็ง โรคเอดส์ อุบัติเหตุ และโรคหัวใจ ซึ่งโรคเหล่านี้ เมื่อโรคเข้าสู่ระยะท้าย ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะทนทุกข์ทรมานจากการรักษา ที่ไม่ก่อเกิดประโยชน์ รวมถึงได้รับการรักษาที่มุ่งยื้อชีวิตแม้อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ รวมถึงการตัดสินใจเลือก ทางเลือกของการรักษาต่างๆที่มักกระทำโดยครอบครัวโดยผู้ป่วยไม่มีส่วนร่วม ซึ่งบางครั้งการรักษาดังกล่าวอาจไม่ใช่แนวทางที่ ผู้ป่วยต้องการ palliative care เป็นทางเลือกที่จะช่วยให้ผู้ป่วยไม่ทุกข์ทรมานเมื่อโรคเข้าสู่ระยะท้าย โดยจุดมุ่งหมายของ palliative care คือการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว ในผู้ป่วยที่โรครักษาไม่ได้หรือรักษาลำบาก หลักการของ palliative care คือ การยอมรับในเวลาที่เหลืออยู่โดยไม่ไปยืดหรือเร่งเวลาที่เหลือ แต่ดูแลให้ผู้ป่วยมีสมรรถนะและคุณภาพชีวิตดีที่สุดในเวลาที่เหลืออยู่ โดยการจัดการอาการที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะอาการปวดและอาการไม่สุขสบายอื่นๆ การดูแลประคับประคองด้านจิตใจ สังคม และด้านจิตวิญญาณ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care) เป็นรูปแบบการดูแลสุขภาพแบบ องค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สําหรับผู้ที่ป่วยด้วยโรคที่คุกคามต่อชีวิต ซึ่งไม่สามารถ รักษาให้หายขาดได้เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย ผ่านกระบวนการป้องกันและบรรเทาความ ทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวด ซึ่งมิใช่เป็นเพียงอาการของความผิดปกติทางร่างกายเท่านั้น แต่เป็นผลลัพธ์ที่ เกิดจากสภาวะทางด้านจิตใจของผู้ป่วยด้วย รวมทั้งการให้คําแนะนําต่อญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วย ในการ เตรียมพร้อมที่จะรับมือกับสภาพความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
จากข้อมูลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภู ในปี 2561 พบว่ามีผู้ป่วยระยะสุดท้าย จำนวน 12 ราย ป่วยด้วยโรคมะเร็ง จำนวน 5 คน โรคไตระยะสุดท้ายจำนวน 7 คน ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานเกิดความเจ็บปวดจากโรคและมีแผล อาการหอบเหนื่อยเป็นต้น และผู้ป่วยมีความต้องการเสียชีวิตอย่างสงบที่บ้าน ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว ว่าผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการดูแลประคับประคองอย่างเป็นองค์รวม ที่บ้านอย่างเหมาะสมลดความทุกข์ทรมานที่จะเกิดขึ้น และเป็นการดูแลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิตตามหลักศาสนาของแต่ละบุคคลเพื่อการจากไปอย่างสงบ ครอบครัวสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน โดยชุมชนมีส่วนร่วมอย่างไร้รอยต่อร้อยละ 100
  2. 2.เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย และพร้อมเผชิญความตายอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
  3. 3. เพื่อให้เครือข่าย ”แสงแห่งชีวิต”มีความรู้และทักษะในการดูแลระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ”เครือข่ายแสงแห่งชีวิต”แก่เจ้าหน้าที่และผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตำบลลำภู
  2. เยี่ยมผู้ป่วยระยะสุดท้ายต่อเนื่องที่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการดูแลประคับประคองที่บ้านโดยชุมชนมีส่วนร่วม

2.ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการจัดการความปวด และมีความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยลดลง

3.มีเครือข่ายดูแลระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care) ในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน โดยชุมชนมีส่วนร่วมอย่างไร้รอยต่อร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างไร้รอยต่อร้อยละ 100
0.00

 

2 2.เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย และพร้อมเผชิญความตายอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ตัวชี้วัด : ลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย และพร้อมเผชิญความตายอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
0.00

 

3 3. เพื่อให้เครือข่าย ”แสงแห่งชีวิต”มีความรู้และทักษะในการดูแลระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care)
ตัวชี้วัด : เครือข่าย ”แสงแห่งชีวิต”มีความรู้และทักษะในการดูแลระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน โดยชุมชนมีส่วนร่วมอย่างไร้รอยต่อร้อยละ 100 (2) 2.เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย และพร้อมเผชิญความตายอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (3) 3. เพื่อให้เครือข่าย ”แสงแห่งชีวิต”มีความรู้และทักษะในการดูแลระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ”เครือข่ายแสงแห่งชีวิต”แก่เจ้าหน้าที่และผู้ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตำบลลำภู (2) เยี่ยมผู้ป่วยระยะสุดท้ายต่อเนื่องที่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ "แสงแห่งความหวัง" สร้างพลังใจผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตำบลลำภู ปี ๒๕๖๒ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 01/8/2562

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิรภา พูลเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด