กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคนลาโละฟันดี เครือข่ายเข้มแข็ง ลดวิกฤติฟันผุเด็ก 0-5 ปี
รหัสโครงการ 62-L2514-1-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลลาโละ
วันที่อนุมัติ 22 กรกฎาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมารียัม มะเกะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.343,101.59place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ส.ค. 2562 30 ก.ย. 2562 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0–5 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง

เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปีเป็นโรคฟันผุลดลงจากร้อยละ 10 (เทียบจากปีที่ผ่านมา)

10.00
2 เพื่อให้เด็กอายุ0–5 ปี มีฟันที่สะอาดปราศจากคราบจุลินทรีย์

เพื่อให้เด็ก0–5 ปีมีฟันที่สะอาดปราศจากคราบจุลินทรีย์  ร้อยละ ๘๐

80.00
3 ผู้ปกครองหรือครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากชองกลุ่มเป้าหมายและทุกคนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น

ผู้ปกครองหรือครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80 ชองกลุ่มเป้าหมายและทุกคนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น

80.00
4 อสม.กลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการอบรมความรู้

อสม.กลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการอบรมและมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น

100.00
5 อสม.ทุกคนที่ผ่านการอบรมการปฏิบัติหน้าที่โดยการเยี่ยมบ้านติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง

อสม.ทุกคนที่ผ่านการอบรมการปฏิบัติหน้าที่โดยการเยี่ยมบ้านติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 40,000.00 0 0.00
1 - 31 ส.ค. 62 การส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน 0 8,000.00 -
1 - 31 ส.ค. 62 การส่งเสริมสุขภาพในศพด./อนุบาล 0 2,000.00 -
1 - 30 ก.ย. 62 มหกรรมรณรงค์ฟันดีที่ลาโละ 0 30,000.00 -

ขั้นวางแผน(Plan)
๑. กำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ ๒. สำรวจข้อมูลทางสุขภาพ ทันตสุขภาพในเขตหมู่บ้านรับผิดชอบ ๓. จัดทำโครงการจัดอบรม และขออนุมัติงบประมาณและโครงการ ๔.. ประสานพื้นที่และประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการให้ชุมชนรับทราบ
๕. ดำเนินงานตามโครงการ     ขั้นดำเนินการ(Do) ๑. จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย   -จัดทำฐานข้อมูลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปีให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน   -การตรวจสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี   -คัดกรองและประเมินความเสี่ยงเด็กปฐมวัยตามเกณฑ์ที่กำหนด   -ให้ทันตสุขศึกษา และ สอน/ฝึกวิธีการทำความสะอาดช่องปากเด็กแก่ผู้ปกครองของเด็ก   -ทาฟลูออไรด์วานิชในเด็ก 0-5 ปี นัดทาซ้ำทุก 3 เดือน   -ส่งต่อเด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลแม่ข่าย   -ติดตามเยี่ยมบ้านและจัดบริการส่งเสริมป้องกันแบบเชิงรุกในชุมชน   -จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในเขต ครูผู้ดูแลเด็กใน ศพด./อนุบาล ผู้ปกครองเด็กหรือผู้ดูแล   -กิจกรรมรณรงค์และการสร้างกระแสการแปรงฟันในชุมชน เคลื่อนที่ 4 หมูบ้านในเขตรับผิดชอบ
      ขั้นตรวจสอบและประเมินผล(Check) ๑.ประเมินผลกิจกรรมกลุ่มเด็กอายุ 0-5ปี จากผลการตรวจสุขภาพช่องปากและการทาฟลูออไรด์วานิชตามนัด ๒.ประเมินผลกิจกรรมกลุ่มเด็กอายุ 0-5ปี จากผลการตรวจซี่ฟันที่ย้อมสีคราบจุลินทรีย์ ๓.ประเมินการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการแกไขปัญหาทันตสุขภาพของชุมชน     สรุปผลการดำเนินงานขันปรับปรุงและพัฒนา(Action) ๑.รายงานผลการดำเนินงาน ๒.ประชุมร่วมกันเพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ๓.ปรับปรุง/พัฒนาวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เด็กอายุ 0-5ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชอย่างมีคุณภาพ                                  ๒.ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็กที่ถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชน                              ๓.ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก อสม.  ครูผู้ดูแลใน ศพด./โรงเรียนอนุบาลและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริม ป้องกันและดูแลทันตสุขภาพเด็กและของตัวเองได้                                                            ๔.ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก และเกิดนวัตกรรมที่ช่วยสนับสนุนการทำงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากของคนในชุมชน                                                      5.เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนในการพัฒนางานส่งเสริมทันตสุขภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2562 11:54 น.