กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : - ทุกหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลม่วงงามมีมาตรการชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00

 

2 ประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก
ตัวชี้วัด : - ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป มีค่าดัชนีมวลกาย ค่าความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ
ตัวชี้วัด : - เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบทุกหมู่บ้านในตำบลม่วงงาม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) ประชากรกลุ่มปกติ  กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก (3) เกิดแกนนำสุขภาพ  บุคคลต้นแบบ  ผู้นำชุมชนต้นแบบ  ชมรมต้นแบบ  แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ  ๓๕ ปีขึ้นไป (2) เวทีประชาคมคืนข้อมูลสู่ชุมชน (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (๓ อ ๒ ส) แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยทุกหมู่บ้าน (4) กิจกรรมออกกำลังกายเดิน-วิ่ง-เต้น (แอร์โรบิค/บาสโลบ) เพื่อสุขภาพ (5) กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ อย่างน้อย  ๕ ชนิดในครัวเรือน (6) กิจกรรมรณรงค์โดย อสม. ผู้นำชุมชน  ประชาชนทั่วไปเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (7) กิจกรรมเสียงตามสายต้านภัยโรคเรื้อรัง  โดยบุตรหลาน อสม. (8) กิจกรรมติดตามเยี่ยมประเมินพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (9) มหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh