กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการลดความหวานในอาหาร เพิ่มความหวานในรอยยิ้ม ประจำปี 2562 ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิตารมีซี แวดาโอะ (ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม)

ชื่อโครงการ โครงการลดความหวานในอาหาร เพิ่มความหวานในรอยยิ้ม ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2498-62-01- เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กันยายน 2562 ถึง 13 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดความหวานในอาหาร เพิ่มความหวานในรอยยิ้ม ประจำปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดความหวานในอาหาร เพิ่มความหวานในรอยยิ้ม ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดความหวานในอาหาร เพิ่มความหวานในรอยยิ้ม ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2498-62-01- ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กันยายน 2562 - 13 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นอันตรายต่อชีวิต ตลอดจนส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้หลายอย่าง เช่น โรคหัวใจวาย อัมพาต ไตวาย พิการ จนกระทั่งเสียขีวิตได้ ถึงแม้ว่าโรคทั้งสองจะเป็นโรคที่สามารถควบคุมและป้องกันไม่ให้เกิดโรคและควบคุมไม่ให้เกิดอาการที่รุนแรงได้ แต่แนวโน้มของผู้ป่วยด้วยโรคทั้งสองกลับเพิ่มมากขึ้นทุกปี ก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ครอบครัวและทรัพยากรบุคคลก่อนถึงเวลาอันสมควร ซึ่่งถือว่าเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข ด้วยปัญหาที่เกิดขึนดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุขจึงได้บรรจุโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานเป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สถานบริการต้องดำเนินงานตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในชุมชน ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนตลอดจนให้ความรู้ ให้คำปรึกษา เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้ลดอัตราป่วยภาวะแทรกซ้อนและเสียชีวิตลงได้ และด้วยที่อำเภอยี่งอ เป็นแหล่งผลิตอาหารหวานที่ขึ้นชื่อในจังหวัดนราธิวาส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเดือนเทศกาลถือศีลอดของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม จะมีการผลิตและจำหน่ายอาหารคาว หวาน หลากหลายชนิด จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการรณรงค์ในประชาชนทั่วไปของยี่งอด้วย จากสถานการณ์ปัญหาของโรคในพื้นที่ซึ่งมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี และตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขข้างต้น ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอ ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงจัดทำโครงการลดความหวานในอาหาร เพิ่มความหวานในรอยยิ้ม อำเภอยี่งอ ปี 2562 ขึ้น เพื่อให้ความรู้และรณรงค์แก่ผู้ป่วยเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และประชาชนทั่วไปให้สามารถที่จะเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็นการป้องกันการเพิ่มผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เช่น โรคเบาหวาน
  2. เพื่อสร้างความตระหนักถึงภัยจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโรภอาหารแก่ประชาชนและผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร
  3. เพื่อให้ร้านอาหารมีมาตรฐานตามหลักสุขาภิบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมตรวจร้านอาหาร
  3. กิจกรรมรณรงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,921
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร และแผงลอยมีความรู้เรื่องโภชนาการเพื่อป้องกันโรคเพิ่มขึ้น 2.อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารลดลง 3.ร้านอาหารมีมาตรฐานตามหลักสุขาภิบาล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เช่น โรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักถึงภัยจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโรภอาหารแก่ประชาชนและผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ร้านอาหารมีมาตรฐานตามหลักสุขาภิบาล
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6981
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,921
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เช่น โรคเบาหวาน (2) เพื่อสร้างความตระหนักถึงภัยจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโรภอาหารแก่ประชาชนและผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร (3) เพื่อให้ร้านอาหารมีมาตรฐานตามหลักสุขาภิบาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมตรวจร้านอาหาร (3) กิจกรรมรณรงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดความหวานในอาหาร เพิ่มความหวานในรอยยิ้ม ประจำปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2498-62-01-

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิตารมีซี แวดาโอะ (ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด