กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงตำบลลิพัง ปี 2562
รหัสโครงการ 62-L1486-2-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลลิพัง
วันที่อนุมัติ 3 กรกฎาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2562 - 20 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 20 สิงหาคม 2562
งบประมาณ 33,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอุไรวรรณ หลำเบ็ญสะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.184,99.81place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (33,900.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 170 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จาการตรวจคดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในตำบลลิพังทั้ง 7 หมู่บ้าาน ตามนโยบายสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2561 ถึงเดือนธันวาคม 2561 จำนวน 880 ราย พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังนี้ ที่ต้องเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน 80 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.95% และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง90 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.36 % เังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลลิพัง ตระหนัดถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลเสี่ยง ลดโรค โรคเบาหวาน และคสามดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงที่พบจากการคัดกรองปี 2561 เพื่อให้กลุ่มเหล่านี้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆ ของตนเองได้ เพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรังต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองในประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อกลุ่มโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมรับอบรม ร้อยละ ๙๕  %

0.00
2 เพื่อจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพตนเองให้ห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุม                 โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น  ร้อยละ  ๖๐

0.00
3 เพื่อติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุม โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 33,990.00 0 0.00
17 ส.ค. 62 - 20 ก.ย. 62 ๑. จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพการป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง จำนวน ๑ วัน ๒. จัดกิจกรรมมหกรรมสุขภาพเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองให้ห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จัดกิจกรรมในวันที่ฝึกอบรม รูปแบบการจัดกิจกรรมเป็นการออกบูทนิทรรศการ ใน 0 33,990.00 -

ขั้นเตรียมการ ๑. รวบรวมข้อมูลรายชื่อประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
    ๒.จัดทำโครงการเสนอขออนุมัติโครงการ     ๓. จัดตั้งคณะทำงาน ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขแต่ละหมู่บ้าน       และจากบุคลากร ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง
    ๔.ประชุมเตรียมความพร้อมของคณะทำงาน ประกอบด้วย
  ๔.๑ ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขทั้งหมด จำนวน ๓๕ คน         ๔.๒ เจ้าหน้าที่ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง จำนวน ๖ คน

      ขั้นดำเนินการ ๑. จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพการป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
จำนวน ๑ วัน ๒. จัดกิจกรรมมหกรรมสุขภาพเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองให้ห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
จัดกิจกรรมในวันที่ฝึกอบรม รูปแบบการจัดกิจกรรมเป็นการออกบูทนิทรรศการ ใน ๓ กิจกรรม คือ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน     ๑. ระดับความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม ประเมินจากแบบสอบถาม เรื่องการดูแลสุขภาพด้าน อาหาร       ด้านออกกำลังกาย ด้านอารมณ์ ก่อนและหลังการอบรม เกณฑ์ร้อยละ ๘๐
      ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้การดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น     ๒ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้เข้ารับการอบรม ประเมินจากแบบสอบถาม
      เรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอาหาร ด้านออกกำลังกาย ด้านอารมณ์  เกณฑ์ร้อยละ ๘๐
      มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ติดตามหลังอบรม ๖ เดือน     ๓. ติดตามประเมินผล     ๔. สรุปผลการดำเนินงาน / ประเมินผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสมในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ     ๒. กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน และ
      ความดันโลหิตสูง ได้รับ การติดตามประเมินผลเป็นระยะตามที่กำหนดไว้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ส.ค. 2562 11:54 น.