กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3อ 2ส)
รหัสโครงการ 62-L5253-1-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลถ้ำตลอด
วันที่อนุมัติ 16 สิงหาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 35,235.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจำนงค์ จันทร์อินทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นายสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.505,100.802place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเลี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้

 

0.00
2 เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน

 

0.00
3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในการติดตาม/ประเมินภาวะสุขภาพ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 35,235.00 0 0.00
27 - 28 ส.ค. 62 อบรมให้ความรู้ 0 35,235.00 -
  1. จัดคอร์สแนวทางปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ระยะเวลา 2 วัน
  2. แกนนำประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ผ่านการอบรมสามารถเป็นแกนนำ ในการขยายผลสู่สมาชิกที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่อยู่ในชุมชนของตนเอง โดยการถ่ายทอดความรู้และเชิญชวนสมาชิก เพื่อรวมกลุ่มจัดตั้งชมรม "รวมใจต้านภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง"
  3. ชมรม "ร่วมใจต้านภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง" มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย/คลายเครียดอย่างน้อย 3-5 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ 30-60 นาที
  4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหมู่บ้านติดตามตรวจ/ประเมินภาวะสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  5. สรรหาบุคคลตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมมอบรางวัล/ใบเกียรติบัตรในวันประชุมสัมมนา
  6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชมรม "ร่วมใจต้านภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง" เพื่อให้สมาชิกมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลตนเองกับบุคคลตัวอย่าง ในการศึกษาปัญหาและหาแนวทางพัฒนาการดูแลสุขภาพของตนเองต่อไป
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้
  2. แกนนำประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการขยายผลแก่สมาชิกกลุ่มเสียงในชุมชน
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลตนเอง
  4. อัตราการตรวจพบโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2562 10:32 น.