กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ ผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง ปี 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
(นางสาวยาวารีปาโห๊ะ)ตำแหน่ง ผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง




ชื่อโครงการ โครงการ ผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง ปี 2560

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-03-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-03-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆและอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้นโรงพยาบาล ก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุ
มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ
เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ และการซื้อผักจากท้องตลาดนั้นค่อนข้างมีราคาแพงและเต็มไปด้วยสารเคมีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองนั้นถือเป็นการสำรองอาหารอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งการปลูกพืชผักสวนครัวด้วยวิธีการปลูกตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง เป็นผู้ที่ต้องจัดซื้อและประกอบอาหารให้กับเด็กเล็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้หาแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและต่อยอดไปในครัวเรือนของเด็กเล็ก โดยการปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้เด็กเล็กได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง เพื่อการมีสุขอนามัยและสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการสมวัยมีภูมิต้านทานโรคที่ดี ทำให้เด็กเล็กได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้มีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค
  2. 2.เพื่อให้เด็กเล็กได้รับอาหารจำพวกโปรตีนซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตบริโภคตามหลักโภชนาการ5หมู่
  3. 3.เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา
  4. 4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพืชผักปลอดสารพิษ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กเล็กมีพฤติกรรมสุขภาพการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ 2.ผู้ปกครองและเด็กเล็กมีความเข้าใจในการเลือกบริโภคพืชผัก 3.เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไป ได้ศึกษาและเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
    4.เด็กเล็กเกิดทักษะการเรียนรู้เกี่ยวกับการพอเพียงและมีรายได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สรุปกิจกรรม 1.กิจกรรมจัดประชุมเจ้าหน้าที่และครูผู้ดูแลเด็กเพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมดำเนินการ 2.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ การเรียนรู้เรื่องการจัดซื้อผักและการปรุงอาหารโดยมีผักเป็นส่วนประกอบของเด็กเล็ก 3.กิจกรรมการส่งเสริมการรับประทานผักที่ปลอดสารพิษและนำผักที่ปลูกมาประกอบอาหาร 4.กิจกรรมให้เด็กเล็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษส่งเสริมให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือของเด็กเล็ก สรุปการใช้งบประมาณ จัดสรร 5300 บาท ใช้จริง 5300 บาท

    2.ค่าเมล็ดผัก จำนวน 1000 บาท 3.ค่ากากน้ำตาล จำนวน 1000 บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณื จำนวน32000 บาท 5.ค่าเข้าเล่ม จำนวน 300 บาท รวมเป็นเงิน 5300 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้มีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ได้รับการบริโภคผักที่ปลอดสารพิษ

     

    2 2.เพื่อให้เด็กเล็กได้รับอาหารจำพวกโปรตีนซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตบริโภคตามหลักโภชนาการ5หมู่
    ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 100 ได้รับสารอาหารจำพวกโปรตีนซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตบริโภคตามหลักโภชนาการ5หมู่

     

    3 3.เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา
    ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 85ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา

     

    4 4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพืชผักปลอดสารพิษ
    ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ 85ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้มีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค (2) 2.เพื่อให้เด็กเล็กได้รับอาหารจำพวกโปรตีนซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตบริโภคตามหลักโภชนาการ5หมู่ (3) 3.เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา (4) 4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพืชผักปลอดสารพิษ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ ผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว เศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-03-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางสาวยาวารีปาโห๊ะ)ตำแหน่ง ผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด