กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการบ้านเรือนสะอาด อนามัยดี ปราศจากโรคภัย นำเศรษฐกิจพอเพียง ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอาสีเย๊าะ มุเส๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการบ้านเรือนสะอาด อนามัยดี ปราศจากโรคภัย นำเศรษฐกิจพอเพียง

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5192-2-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านเรือนสะอาด อนามัยดี ปราศจากโรคภัย นำเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านเรือนสะอาด อนามัยดี ปราศจากโรคภัย นำเศรษฐกิจพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านเรือนสะอาด อนามัยดี ปราศจากโรคภัย นำเศรษฐกิจพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5192-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจ สังคม ที่มีความเจริญรุ่งเรืองขึ้น การทำงานที่รีบเร่งแข่งกับเวลาทำให้ประชาชนละเลยต่อสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวและไม่มีการจัดการดูแลที่พักอาศัยที่เหมาะสมโดยเฉพาะในเรื่องของการสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานในครัวเรือนเช่นความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยการปรุง-ประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะน้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและเพียงพอการจัดการมูลฝอยน้ำเสียรวมทั้งสัตว์และแมลงพาหะนาโรคหรือละเลยการสร้างพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่ดีของตนเองและสมาชิกในครอบครัวก็อาจส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆเช่นโรคไข้เลือดออก โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินอาหารที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อไวรัสตับอักเสบเป็นต้นโรคต่างๆเหล่านี้ล้วนเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการจัดการด้านการสุขาภิบาลที่พักอาศัยด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดแวดล้อมและการปรับปรุงพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลให้ถูกต้อง เหมาะสม และมีความต่อเนื่อง รวมทั้งมีการส่งเสริม ให้มีการคัดแยก ตั้งแต่ต้นทางเพื่อลดปริมาณขยะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ลดพาหะนำโรค แหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค นำขยะที่คัดแยกได้มาบริหารจัดการในรูปแบบธนาคารขยะตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ชมรมผู้สูงอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 10 ตำบลลำไพล ได้เล็งเห็นความสำคัญของการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของประชาชนและเพื่อให้เกิดการปฏิบัติในระดับครัวเรือนอย่างเป็นรูปธรรมจึงได้จัดทำโครงการ“บ้านเรือนสะอาด อนามัยดี ปราศจากโรคภัย นำเศรษฐกิจพอเพียง” ขึ้นเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการสุขาภิบาลที่พักอาศัยการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมขั้นพื้นฐานในครัวเรือนส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมทั้งภายในบ้านและบริเวณบ้านโดยรอบให้ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักสุขาภิบาลและมีการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมานำใช้ภายในครอบครัว และชุมชน รวมทั้งสร้างพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่ดีตลอดจนการมีส่วนร่วมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชนนับเป็นการเสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในทุกครัวเรือนให้มีความใส่ใจต่อสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดีโดยเริ่มปลูกฝังตั้งแต่ระดับครัวเรือนและขยายผลสู่ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
  2. 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
  3. 3. เพื่อให้ประชาชน และชุมชน สามารถจัดการขยะที่ถูกต้องได้ด้วยตนเอง
  4. 4. เพื่อให้หมู่บ้าน/ ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยการรักษาความสะอาดบ้านเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่อง การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ อันตรายจากสารพิษตกค้างในผักเพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดี และสาธิตการปลูกผักสวนครัว
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล เพื่อลดพาหะนำโรค และแหล่งเพาะพันธ์โรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนตระหนักถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย สะอาด ปราศจากพาหะนำโรคทั้งในบ้านและนอกบ้าน
  2. ชุมชนปลูกผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษมากขึ้น ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี
  3. ลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  4. มีธนาคารขยะรีไซเคิลของหมู่บ้านเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี ลดพาหะนำโรค
  5. เกิดบ้านต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมแต่ละหมู่บ้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
ตัวชี้วัด :
50.00

 

2 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ≤50/แสนP
50.00

 

3 3. เพื่อให้ประชาชน และชุมชน สามารถจัดการขยะที่ถูกต้องได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : มีธนาคารขยะรีไซเคิลประจำหมู่บ้านที่ยั่งยืน ร้อยละ 100
100.00

 

4 4. เพื่อให้หมู่บ้าน/ ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยการรักษาความสะอาดบ้านเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้  มีความตระหนัก  และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง  ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ (2) 2. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (3) 3. เพื่อให้ประชาชน และชุมชน สามารถจัดการขยะที่ถูกต้องได้ด้วยตนเอง (4) 4. เพื่อให้หมู่บ้าน/ ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยการรักษาความสะอาดบ้านเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่อง การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ อันตรายจากสารพิษตกค้างในผักเพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดี และสาธิตการปลูกผักสวนครัว (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล เพื่อลดพาหะนำโรค และแหล่งเพาะพันธ์โรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านเรือนสะอาด อนามัยดี ปราศจากโรคภัย นำเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5192-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาสีเย๊าะ มุเส๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด