กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการมัายิดส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุรเดช เดเรมะ

ชื่อโครงการ โครงการมัายิดส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5192-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมัายิดส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมัายิดส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมัายิดส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5192-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มุสลิมจะมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับมัสยิดจนกระทั่งช่วงสุดท้ายของชีวิตบทบาทของมัสยิดนอกจากจะเป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจตามที่คนทั่วไปเข้าใจแล้ว มัสยิดยังเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน เป็นศาลสถิตยุติธรรมเพื่อพิจารณาไกล่เกลี่ยคดีความชั้นต้นในชุมชน เป็นสถานที่ประชุมปรึกษาปัญหาและทางออกในเรื่องราวด้านต่างๆ ของชุมชน การจัดกิจกรรมงานบุญงานกุศลทั้งการเริ่มต้นชีวิตครอบครัวคือการแต่งงาน กิจกรรมในวิถีชุมชนต่างๆ ตลอดจนเมื่อถึงสุดท้ายของชีวิตสถานที่แห่งนี้จะเป็นที่สุดท้ายที่เขา (ศพ)จะได้รับการละหมาดขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าก่อนที่ร่างจะถูกฝังในกูโบ (สุสาน) ที่อยู่ใกล้ๆกับมัสยิด บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของมัสยิด คือการบริการการศึกษาแก่สมาชิกในชุมชนทั้งระดับพื้นฐานและวิทยาการอิสลามขั้นสูง และการจัดการเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ทัศนะอิสลาม วิชาความรู้ที่ดีงามเป็นประโยชน์ให้กับส่วนบุคคล ครอบครัว และการพัฒนาสังคมเป็นสิ่งจำเป็นที่มุสลิมทุกคนต้องไขว่คว้าและเรียนรู้ มัสยิดจึงเป็นสถานที่ส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของประชาชนในชุมชน อิสลามได้กำหนดให้ผู้ที่จะปฏิบัติศาสนกิจนั้นต้องทำการชำระร่างกายให้สะอาด และจำเป็นที่จะต้องชำระมลทินทั้งสองอย่างคือทั้งภายนอกและภายในให้หมดไปมิฉะนั้นการปฏิบัติศาสนกิจของเราก็จะใช้ไม่ได้ ดังคำสอนที่ท่านศาสดามุฮัมมัด ทรางกล่าวไว้ว่า “ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา” องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะทำให้การปฏิบัติศาสนกิจที่สมบูรณ์ก็คือการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ปฏิบัติศาสนกิจได้มีน้ำใช้ที่สะอาด มีการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลถูกหลักสุขาภิบาลที่ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนหรือทำความสกปรกแก่ผู้ปฏิบัติศาสนกิจ ในการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม จะบังเกิดผลสำเร็จได้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนเป็นสำคัญ เพราะการแก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับปฏิบัติตนของประชาชน ดังนั้นการปลูกฝังจิตสำนึกผ่านสถานที่ที่สำคัญให้ประชาชนได้ร่วมดูแลรักษาซึ่งตรงกับคำสอนของอิสลามที่ท่านศาสดามุฮัมมัด ทรงกล่าวว่า “ผู้ใดผูกพันอยู่กับมัสยิด อัลเลาะห์ ศุบหฯ จะทรงผูกพันอยู่กับเขา” ดังนั้นคณะกรรมการมัสยิดบ้านแม่ทีได้จัดทำโครงการดังกล่าวนี้ขึ้นเพื่อพัฒนามัสยิดให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมวิถีชีวิตมุสลิมให้สอดคล้องกับบทบัญญัติอิสลาม เรื่องความสะอาด การศรัทธา การมีส่วนร่วม นำไปสู่การพัฒนาชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต
  2. 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา
  3. 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศาสนาอิสลาม
  2. กิจกรรมเรียนรู้ หลักการเยี่ยมผู้หลักการเยี่ยมผู้เจ็บป่วย ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และ ญาติผู้เสียชีวิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชน และชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนาอิสลาม
  2. มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิตของประชาชนในชุมชน
  3. ได้สร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ประชาชนใช้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนด้านสุขภาพจิต
90.00

 

2 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา
ตัวชี้วัด : 2. ชุมชนมีความรู้ด้านมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วย
80.00

 

3 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยและญาติ ได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มัสยิดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต (2) 2. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ในเรื่องมารยาทการเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยตามหลักศาสนา (3) 3. เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ญาติและตัวผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและมารยาทในการใช้ชีวิตประจำวัน สู่หนทางศาสนาอิสลาม (2) กิจกรรมเรียนรู้ หลักการเยี่ยมผู้หลักการเยี่ยมผู้เจ็บป่วย  ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และ ญาติผู้เสียชีวิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมัายิดส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพจิตบ้านแม่ที ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5192-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุรเดช เดเรมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด