กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกพร้อมจัดรูปแบบการให้บริการวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน(Home BP) และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง โดยเครือข่ายมีส่วนร่วมในชุมชนปากู

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปและกลุ่มสงสัยเป็นโรคได้รับการตรวจคัดกรอง โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงครอบคลุมตามมาตรฐาน 2. เพื่อลดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5) และ อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ ร้อยละ 10 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรค ได้รับการวัดความดันโลหิตสูงที่บ้านวันละ 2 ครั้ง ติดต่อกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ และถ้าหากพบว่ามีค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า 135/85 มม.ปรอท ให้ส่งต่อพบแพทย์เพื่อได้รับการวินิจฉัยโรคผู้ป่วยรายใหม่ 4. เพื่อพัฒนาทักษะการวัดความดันโลหิตสูงให้มีประสิทธิภาพและฟื้นฟูองค์ความรู้ของเครือข่าย อสม.ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานร้อยละ 90 2. ร้อยละ 10 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคได้รับการวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน (Home BP) วันละ 2 ครั้ง (เช้าและก่อนนอน) ติดต่อกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ 3. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในโรคเบาหวานร้อยละ 2.4 และลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ (ลดลงจากฐานเดิมในปีที่ผ่านมา ร้อยละ 2.5)
0.00