กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7889-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7889-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Ageing Society) นับแต่ปี 2548 - 2549เป็นต้นมา
และมีอัตราการเพิ่มจำนวนประชากรผู้สูงอายุในสัดส่วนที่รวดเร็วเมื่อเทียบกับจำนวนประชากรทั้งหมด
คาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ในปี 2564
หรืออีกประมาณไม่เกิน 10ปีข้างหน้าและเป็น“สังคมสูงวัยระดับสุดยอด”(Super aged society) ในอีก 20 ปี (พ.ศ.2578) โดยประมาณการว่าจะมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มเป็นร้อยละ30 ของจำนวนประชากรทั้งหมดเพื่อเป็นการรองรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุดังกล่าว รัฐบาลได้กำหนดเป็นนโยบายประการหนึ่งเพื่อให้ผู้สูงอายุทั้งปัจจุบันและประชากรที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุในอนาคตมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งนี้ การดำเนินนโยบายดังกล่าวให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ ต้องการการบูรณาการขับเคลื่อนระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลางและระดับพื้นที่ กระทรวงหลัก ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงแรงงาน จึงได้ร่วมบูรณาการงานของกระทรวง ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุในระดับพื้นที่อำเภอและตำบลในทุกจังหวัดเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาขยายผลให้ทั่วประเทศต่อไป ชุมชนเทศบาลตำบลปริกเป็นชุมชนขนบทมีประชาการทั้ง ๗ ชุมชน จำนวน ๖,๕๐๑ คน (ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๙ ) มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด ๖๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๘
ของประชากรทั้งหมด ก็เช่นเดียวกันที่มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นตามอัตราการเพิ่มอย่างคล้องกับระดับจังหวัดและประเทศจากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาเทศบาลได้บันทึกข้อตกลงการบริหารจัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง โดยได้รับการสนับสนุน จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและศูนย์อนามัยเขตที่ ๑๒ ยะลา ในการฝึกอบรมผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ ปี ๒๕๕๘ ทั้งภาพรวมตำบลปริก จำนวนทั้งหมด ๒๗ คน แยกเป็นเขตเทศบาล จำนวน ๑๔ คน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลปริก ๑๓ ราย จำนวน ๔๒๐ ชั่วโมง ทฤษฎีกรมอนามัย และได้ลงพื้นที่ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนตลอดมา คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญการจัดบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในระยะยาว และผู้ให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลจำนวน ๑๔ คน ควรได้รับการฟื้นฟูความรู้ตามหลักวิชาการที่ถูกต้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัย และผู้สูงอายุไม่ถูกละเมิดสิทธิ ตลอดการได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันภาวะแทรกซ้อน และฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสม จึงได้จัดโครงการอบรมฟื้นฟู ความรู้ ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถดูแลผู้สูงอายุ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ๒. ร้อยละ๘๐มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรมฟื้นฟู
  3. ๓. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างปลอดภัยตามหลักวิชาการ และไม่ถูกละเมิดตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 14
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้อย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ ตามหลักวิชาการ และไม่ถูกละเมิดตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
    2. ผู้ดูแลผู้สูงอายุ สามารถดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. วัสดุสำนักงาน

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้อุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม

     

    1 14

    2. ค่าป้ายอบรม 1 ป้าย

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อใช้ในการอบรมโครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ

     

    1 14

    3. ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบ จำนวน 14 ชุด

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีเกียรติบัตรเพื่อมอบให้กับผู้ดุแลผู้สูงอายุเมื่อเสร็จสิ้นการอบรมโครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ

     

    14 14

    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ดุแลผูสูงอายุในวันอบรมโครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ

     

    14 14

    5. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับผู้ดุแลผูสูงอายุในวันอบรมโครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ

     

    14 14

    6. ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท x 19 ชั่วโมง

    วันที่ 26 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุสามารถดูแลผู้สูงอายุได้อย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ ตามหลักวิชาการ และไม่ถูกละเมิดตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ

     

    14 14

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ก่อนเข้าร่วมอบรมผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถดูแลผู้สูงอายุ ได้ร้อยละ 81 และหลังเข้าร่วมอบรมความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถดูแลผู้สูงอายุ ได้ร้อยละ 94.8 ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการ ดูแลผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.80 และผู้ดูแลผู้สูงอายุ สามารถดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้ถูกต้องตามหลักวิชาการโดยใช้แผนการดูแลพยาบาล (Care Plan) ในการดูแลอย่างเป็นระบบ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถดูแลผู้สูงอายุ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. ร้อยละ๘๐มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรมฟื้นฟู
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างปลอดภัยตามหลักวิชาการ และไม่ถูกละเมิดตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 14
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 14
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถดูแลผู้สูงอายุ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) ๒. ร้อยละ๘๐มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรมฟื้นฟู (3) ๓. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างปลอดภัยตามหลักวิชาการ และไม่ถูกละเมิดตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการทบทวนความรู้ผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7889-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด