กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการครอบครัวสุขสันต์ตั้งครรภ์คุณภาพ ”
ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสุทาเนื่องนำพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล




ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวสุขสันต์ตั้งครรภ์คุณภาพ

ที่อยู่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 30 เมษายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวสุขสันต์ตั้งครรภ์คุณภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวสุขสันต์ตั้งครรภ์คุณภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวสุขสันต์ตั้งครรภ์คุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันในภาคเศรษฐกิจและสังคมสมัยใหม่ แนวโน้มโครงสร้างครอบครัวของคนไทยมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวเพิ่มขึ้น แตกต่างจากอดีตที่ผู้หญิงจะได้รับคำแนะนำ คำปรึกษาจากพ่อแม่ที่ยู่ในครอบครัวเดียวกันในการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การเตรียมตัวคลอด การปฏิบัติตัวหลังคลอด ตลอดจนการอบรมสั่งสอนการเลี้ยงดูเด็ก และช่วยเหลือเลี้ยงดูเมื่อพ่อแม่ไปทำงานนอกบ้านโดยแม่เป็นผู้เลี่ยงด฿หลักที่บ้าน แต่ในปัจจุบันการแยกเป็นครอบครัวดี่ยวทำให้แม่ขาดโอกา่สในการรับรู้จากญาติผู้ใหญ่ การเรรียนรู้จึงเป็นการศึกษาหาข้อมูลด้วยตนเอง หรือสอบถามจากเพื่อนบย้าน ซึ่งความรู้บางสิ่งถูกต้อง ดังนั้นการได้รับความรู้จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยเหลือให้พ่อ-แม่ สามารถดูแลตนเองและลูกได้อย่างมีคูณภาพต่อไป อย่างไรก็ตามในช่วงที่ผ่านมา แผนกฝากครรภ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูได้ปรับกลยุทธิ์การดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น การพัฒนาคลินิกบริการฝากครรภ์ให้ได้ตามมาตรฐานส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพมีการปฏิบัติตนได้ถูกต้องระหว่างตั้งครรภ์ ให้หญิงตั้งครรภ์และสามีส่วนใหญ่ยังมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องในการดูแลหรือปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ ไม่เห้นความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัดทำให้มาฝากครรภ์ล่าช้าหลัง 12 สัปดาห์ ไม่ครบตามเกณฑ์คุณภาพการรับประทานยาเม็ดวิตามินเสริมธาตุเหล็กที่ไม่สม่ำเสมอและการรับประทานอาหารที่ไม่ครบหมวดหมู่และไม่ได้สัดส่วนทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดปัญหาภาวะโลหิตจากก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ จนถึงหน้าห้องคลอดส่งผลให้ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม และการคลอดที่บ้านโดยผดุงวครรภ์โบราณ (ผดบ.) ประจำหมู่บ้าน ทำให้เด็กได้รับการตรวจร่างกายและรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของเ้ด็กต่อไป ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาของเด็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแม่อาสาให้มีความรู้ มีความสามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้
  2. เพื่อให้ตั้งครรภ์ที่อยู่กินกับสามี และคู่สมรสใหม่ได้เตรียมความพร้อมกับบทบาทตนเองได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อลดภาวะเสี่ยง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์และลูก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 132
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แม่อาสามีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้่ร้อยละ 80
    2. หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์มากกว่าร้อยละ 80
    3. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางได้ไม่เกินร้อยบะ 10
    4. คลอดในสถานบริการทุกราย ส่งผลให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ร้อยละ 95

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแม่อาสาให้มีความรู้ มีความสามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ตั้งครรภ์ที่อยู่กินกับสามี และคู่สมรสใหม่ได้เตรียมความพร้อมกับบทบาทตนเองได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อลดภาวะเสี่ยง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์และลูก
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 132
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 132
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพแม่อาสาให้มีความรู้ มีความสามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้ (2) เพื่อให้ตั้งครรภ์ที่อยู่กินกับสามี และคู่สมรสใหม่ได้เตรียมความพร้อมกับบทบาทตนเองได้อย่างเหมาะสม (3) เพื่อลดภาวะเสี่ยง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์และลูก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการครอบครัวสุขสันต์ตั้งครรภ์คุณภาพ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุทาเนื่องนำพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด