กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ทุกกลุ่มวัย ใส่ใจองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
(นางรวิสรา แก้วกระเศรษฐ)ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ




ชื่อโครงการ โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ทุกกลุ่มวัย ใส่ใจองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ในเขตเทศบาลนครสงขลา

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ทุกกลุ่มวัย ใส่ใจองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ทุกกลุ่มวัย ใส่ใจองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ในเขตเทศบาลนครสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ทุกกลุ่มวัย ใส่ใจองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ในเขตเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 167,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หน่วยบริการปฐมภูมิศูนย์สุขภาพชุมชนชนกุโบร์รวมใจ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.สงขลา เป็นหน่วยงานให้บริการสุขภาพชุมชน ๔ มิติ แบบองค์รวมในพื้นที่ 6 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนกุโบร์, ชุมชนสมหวัง, ชุมชนมิตรเมืองลุง, ชุมชนบ่อหว้าสามัคคี, ชุมชนมิตรสัมพันธ์, ชุมชนหน้าค่ายรามคำแหงรับผิดชอบประชากรจำนวน 8,475 คน จำนวน 2,239 หลังคาเรือน มีโรงเรียนในความรับผิดชอบ 1 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนศิริพงศ์วิทยา และศูนย์เด็กเล็กก่อนวัยเรียน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนกุโบร์ และสถานรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย อีก 2 แห่ง
จากผลการทำประชาคมหมู่บ้านร่วมกับ อสม. ในพื้นที่ เพื่อจัดทำแผนสุขภาพชุมชน พบประเด็นปัญหาของชุมชน ดังนี้ ปัญหาสาธารณสุข พบเด็ก0-6 ปี มีปัญหาโภชนาการบกพร่อง และปัญหาสุขภาพ(ฟันผุ/เหา) มีแผลพุพองตามผิวหนัง ผู้สูงอายุขาดการดูแล ยังต้องเป็นผู้ดูแลหลานเล็กๆ แทนพ่อแม่, เด็กวัยรุ่นท้องก่อนวัยอันควร, หญิงตั้งครรภ์ไม่ตระหนักเรื่องการฝากครรภ์ ชาวบ้านไม่สนใจสุขภาพตนเอง/คนในครอบครัวมีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชนมากและผู้ป่วยขาดการรักษาไปรับยาต่อเนื่อง รวมถึงปัญหาอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน ทั้งปัญหายาเสพติดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมพบขยะอุดตันในท่อระบายน้ำ น้ำในคูน้ำสกปรก น้ำในคูน้ำไม่ไหลเนื่องจากมีสิ่งปฏิกูลจำนวนมาก มีหนูและแมลงสาปมาถ่ายมูลในบ้าน และมีลูกน้ำยุงลาย
จากปัญหาข้อมูลดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวที่จะดูแลส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเชิงรุกสู่ชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวม ครอบคลุมทุกกลุ่มวัยจึงได้ทำโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ทุกกลุ่มวัย ใส่ใจองค์รวมศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจในเขตเทศบาลนครสงขลา ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
  2. 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
  3. 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
  4. 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 220
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1,270
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมมีความพึงพอใจเชื่อมั่นศรัทธาต่อ การรับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลและพึ่งตนเองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๓.  สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ  มีดังนี้ ๑. ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ จิตอาสา แกนนำสุขภาพ เครือข่ายต่างๆ ในชุมชน จำนวน จำนวน ๙๐ คน x ๔ ครั้ง ๒. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา และให้ความรู้ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยแกนนำสุขภาพ  จำนวน ๒๐ วัน ๓. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่และติดตาม        ๑ - ๓ - ๖ เดือน จำนวน ๑๐ คน x ๖ ชุมชน x ๓ ครั้ง ๔. กิจกรรมค้นหาและเยี่ยมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกหญิงตั้งครรภ์/หลังคลอดในชุมชน โดยแกนนำและจิตอาสา จำนวน ๑๐ คน x ๖ วัน ๕. การอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมสายใยรัก จำนวน ๑๐ คน x ๖ ชุมชน


    ๖. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน ๓๐ คน พร้อมแจกนมกล่อง และติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ทุก ๑ เดือน จำนวน ๓ เดือน โดยเจ้าหน้าที่ และ  อสม.แกนนำสุขภาพ ๗. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูกและตรวจมะเร็งปากมดลูกในชุมชน จำนวน ๓๐ คน x ๖ ชุมชน
    ๘. จัดกิจกรรม SHG ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน จำนวน  ๒๐ คน x ๖ ครั้ง ๙. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๔๐ คน x ๔ ครั้ง ๑๐. กิจกรรมจัดฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๔๐ คน ๑๑. กิจกรรมสำรวจและประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยแกนนำ และจิตอาสา จำนวน ๑๒ คน x ๘ วัน ๑๒. กิจกรรมสำรวจและติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในชุมชน จำนวน ๒๐ คน x ๔ วัน ๑๓. กิจกรรมอบรมฟื้นฟูแกนนำ อสม.ในการควบคุมโรคติดต่อ จำนวน ๙๐ คน ๑๔. กิจกรรมสำรวจและประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุกในชุมชน โดยแกนนำ และจิตอาสา
    จำนวน ๓๐๐ ชุด     ๑๕. จัดทำกลุ่ม น้ำมันนวดสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ในชมรมผู้พิการและผู้ดูแลในชุมชน จำนวน ๒๐ คน     ๑๖. จัดอบรมจิตอาสาดูแลในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ป่วยระยะสุดท้าย จำนวน ๓๐ คน     ๑๗. จัดทำเอกสารความให้รู้เรื่องโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง (หน้า-หลัง)  จำนวน ๕๐๐ ชุด     ๑๘. จัดทำคู่มือความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง จำนวน ๕๐ เล่ม     ๑๙. จัดซื้อสื่อพัฒนาการเด็กในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๐-๖ ปี จำนวน ๗ ชิ้น       ๒๐. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด ๐-๖ ปี (ชุดผลไม้จำลอง, ชุดฝึกร้อยเชือก) จำนวน ๑ ชุด       ๒๑. จัดทำชุดอุปกรณ์ในการจัดฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๔๐ ชุด       ๒๒. จัดทำเอกสารแบบสอบถามประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๒๐๐ ชุด       ๒๓. จัดทำชุดอุปกรณ์ในการป้องกันควบคุมโรคในการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรค จำนวน ๑๐ ชุด       ๒๔. จัดทำเอกสารความรู้เรื่องโรคติดต่อ จำนวน ๑๐๐ ชุด       ๒๕. จัดทำเอกสารคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน ๓๐๐ ชุด       ๒๖. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการผลิตน้ำมันนวดสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จำนวน ๑๒๐ ชุด       ๒๗. จัดทำเอกสารรูปเล่มโครงการ จำนวน ๒ เล่ม ๕.  สรุปการใช้งบประมาณ     ๕.๑  งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร  จำนวนทั้งสิ้น  ๑๖๗, ๕๐๐ บาท
        ๕.๒  งบประมาณที่ใช้จริง              จำนวนทั้งสิ้น  ๑๕๗, ๑๓๐ บาท ดังรายการต่อไปนี้ กิจกรรมที่ ๑ ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ จิตอาสา แกนนำสุขภาพ เครือข่ายต่างๆ ในชุมชน - ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม  จำนวน ๙๐ คน x ๒๕ บาท x ๔ ครั้ง เป็นเงิน ๙,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๙, ๐๐๐ บาท (เงินเก้าพันบาทถ้วน)

    กิจกรรมที่ ๒ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา ๒.๑ กิจกรรมคัดกรองสุขภาพ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม แกนนำสุขภาพ ในการลงตรวจคัดกรองและให้ความรู้ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม    จำนวน ๔๕ คน x ๒๕ บาท x ๒๐ วัน เป็นเงิน ๒๒,๕๐๐ บาท - ค่าวัสดุเจาะเลือดเบาหวาน ๑,๐๐๐ ชุด x ๑๐ บาท เป็นเงิน   ๙,๖๓๐ บาท - ค่าเอกสารการคัดกรอง แผ่นพับให้ความรู้ เป็นเงิน  ๑,๐๐๐ บาท   รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๓๓, ๑๓๐ บาท (เงินสามหมื่นสามพันหนึ่งร้อยสามสิบบาทถ้วน) ๒.๒ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่และติดตาม ๑- ๓ –๖ เดือน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน ๑๐ คน x ๖ ชุมชน x ๒๕ บาท x ๓ ครั้ง เป็นเงิน ๔,๕๐๐ บาท - ค่าเอกสารในการจัดทำคู่มือความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นเงิน ๒, ๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๖, ๕๐๐ บาท (เงินหกพันห้าร้อยบาทถ้วน)

    กิจกรรมที่ ๓ กลุ่มสตรี และเด็กปฐมวัย ๓.๑ กิจกรรมค้นหาและเยี่ยมดูแลสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ และกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ ๐-๖ ปีในชุมชน ในเรื่องภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับแกนนำและจิตอาสาในการค้นหาและเยี่ยมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในชุมชน จำนวน ๑๐ คน x ๒๕ บาท x ๖ วัน เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑, ๕๐๐ บาท (เงินหนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน) ๓.๒ กิจกรรมบูรณาการส่งเสริมความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ๐-๖ ปี และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมสายใยรัก จำนวน ๑๐ คน x ๖ ชุมชน x ๒๕ บาท เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวัน ในการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมสายใยรัก จำนวน ๑๐ คน x 6 ชุมชน x ๕๐บาท เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท

    • สื่อพัฒนาการเด็ก เป็นเงิน ๔,๒๐๐ บาท -    ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เอกสารในการจัดอบรม เป็นเงิน ๑, ๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๙, ๗๐๐ บาท (เงินเก้าพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน)

    ๓.๓ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองและ ติดตามเด็ก ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์โดยเจ้าหน้าที่และ อสม.แกนนำสุขภาพ ทุก ๑ เดือน จำนวน ๓ เดือน โดยให้ อสม.แกนนำกำกับการดื่มนมทุกวันโดยมีตารางเซ็นชื่อ ค่าใช้จ่ายดังนี้ -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เด็กที่มีปัญหาโภชนาการระดับ ๒
    จำนวน ๕ คน x ๖ ชุมชน x ๒๕ บาท เป็นเงิน ๗๕๐ บาท -  ค่าเครื่องดื่ม (นมกล่อง) สำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน ๓๐ คน x  ๑๕ บาท x ๙๐ วัน         เป็นเงิน ๔๐,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๔๑, ๒๕๐ บาท (เงินสี่หมื่นหนึ่งพันสองร้อยห้าสิบบาทถ้วน)

    กิจกรรมที่ ๔ กลุ่มสตรี อายุ ๓๐-๗๐ ปี ห่างไกลโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ๔.๑ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสตรีเพื่อป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูกและตรวจมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกสู่ชุมชน ไม่ได้ทำ ๔.๒ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูกและตรวจมะเร็งปากมดลูกในชุมชน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน ๓๐ คน x ๖ ชุมชน x ๒๕ บาท เป็นเงิน ๔,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๔, ๕๐๐ บาท (เงินสี่พันห้าร้อยบาทถ้วน)

    กิจกรรมที่ ๕ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๕.๑ กิจกรรม SHG ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  ๒๐ คน x ๒๕ บาท x ๖ ครั้ง เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๓, ๐๐๐ บาท (เงินสามพันบาทถ้วน) ๕.๒ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๔๐ คน x ๒๕ บาท x ๔ ครั้ง เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๔, ๐๐๐ บาท (เงินสี่พันบาทถ้วน)   ๕.๓ กิจกรรมจัดฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  ๔๐ คน x ๒๕ บาท เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารเช้า จำนวน  ๔๐ คน x ๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  ๔๐ คน x ๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์-เอกสาร เป็นเงิน ๓, ๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๘, ๐๐๐ บาท (เงินแปดพันบาทถ้วน)

    ๕.๔ กิจกรรมสำรวจและประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับแกนนำและจิตอาสาในการสำรวจและประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  จำนวน ๑๒ คน x ๒๕ บาท X ๘ วัน เป็นเงิน ๒,๔๐๐ บาท
    - ค่าเอกสารการประเมิน เป็นเงิน ๑, ๐๐๐บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๓, ๔๐๐ บาท (เงินสามพันสี่ร้อยบาทถ้วน)

    กิจกรรมที่ ๖ ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ๖.๑ กิจกรรมติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรค
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับแกนนำและจิตอาสาในการสำรวจและติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุก ในชุมชน จำนวน ๒๐ คน x ๒๕ บาท x ๔ วัน เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท - วัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันควบคุมโรค ชุดละ ๒๐๐ บาท x๑๐ คน  เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๔, ๐๐๐ บาท (เงินสี่พันบาทถ้วน) ๖.๒ กิจกรรมอบรมฟื้นฟูแกนนำ อสม. การควบคุมโรคติดต่อ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  ๙๐ คน x ๒๕ บาท เป็นเงิน ๒,๒๕๐ บาท\r - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  ๙๐ คน x ๕๐ บาท เป็นเงิน ๔,๕๐๐ บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร ๖๐๐ บาท x ๒ ชม. เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท - ค่าเอกสาร เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๘, ๙๕๐ บาท (เงินแปดพันเก้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน)

    กิจกรรมที่ ๗ กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ๗.๑  กิจกรรมคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพ -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับแกนนำและจิตอาสาในการจ้างสำรวจและประเมินภาวะสุขภาพ ผู้สูงอายุเชิงรุกในชุมชน จำนวน ๓๐๐ ชุด x ๒๐ บาท เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท -  ค่าเอกสารคัดกรอง ๓๐๐ คน x ๕ บาท เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๗, ๕๐๐ บาท (เงินเจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) ๗.๒ จัดทำกลุ่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพในชมรมผู้พิการและผู้ดูแลในชุมชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี -  ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม จำนวน ๒๐ คน x ๒๕ บาท เป็นเงิน   ๕๐๐ บาท
    -  ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๒๐ คน x ๕๐ บาท เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท
    - ค่าวิทยากร ๓๐๐ บาท x ๓ ชม. เป็นเงิน   ๙๐๐ บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน  ๕, ๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๗, ๔๐๐ บาท (เงินเจ็ดพันสี่ร้อยบาทถ้วน)


    ๗.๓ จัดอบรมจิตอาสาดูแลในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามวิถีพุทธ - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  อบรมจิตอาสาดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
    จำนวน ๓๐ คน x ๒๕ บาท x ๒ มื้อ เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวันอบรมจิตอาสาดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย จำนวน ๓๐ คน x ๕๐ บาท เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์-เอกสาร เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท - ค่าเอกสาร สรุปรูปเล่มโครงการ  ๒ เล่ม x ๓๐๐ บาท เป็นเงิน    ๓๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๕, ๓๐๐ บาท (เงินห้าพันสามร้อยบาทถ้วน)

                  รวมเป็นเงินทั้งหมด ๑๕๗, ๑๓๐ บาท (เงินหนึ่งแสนห้าหมื่นเจ็ดพันหนึ่งร้อยสามสิบบาทถ้วน)   เงินคงเหลือ จำนวน ๑๐,๓๗๐ บาท (เงินหนึ่งหมื่นสามร้อยสามสิบบาทถ้วน)








    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
    ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 1.2 ร้อยละ 70 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์มาตรฐาน 5 ครั้ง 1.3 ร้อยละ 100 ของมารดาหลังคลอดและบุตรได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง

     

    2 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 2.1 ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 0-6 ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2.2 ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย 2.3 ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการได้รับการรักษาส่งต่อ

     

    3 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 3.1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 3.2 ค่าดัชนีลูกน้ำไม่เกินเกณฑ์ (HI

     

    4 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : 4.1 ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ 4.2 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.3 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 4.4 กลุ่มโรคเรื้อรังเบาหวานความดันที่รับการรักษาที่PCU ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคร้อยละ 90 4.5ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อน น้อยกว่าร้อยละ 5 4.6 ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ 4.7 ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 4.8 กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ(ด้อยโอกาส)ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพ ร้อยละ 80

     

    5
    ตัวชี้วัด : 5.1 ผู้สูงอายุได้รับการประเมิน ADL/พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ > ร้อยละ 90 5.2 ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงได้รับการเยี่ยมดูแล ตาม เกณฑ์ร้อยละ 90

     

    6
    ตัวชี้วัด : 6.1 ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด)ได้รับบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3660
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 220
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1,270
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3) 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (4) 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (5)  (6)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ทุกกลุ่มวัย ใส่ใจองค์รวม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางรวิสรา แก้วกระเศรษฐ)ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด