กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง


“ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลปากบาง ปี 2562 ”

ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะฮ์ หัดเล๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลปากบาง ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5191-5-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลปากบาง ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลปากบาง ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลปากบาง ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5191-5-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 135,217.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของประเทศไทยมาโดยตลอดเพราะเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียต่อชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องควบคุมมาโดยตลอด เนื่องจากมียุงลายเป็นยุงพาหะนำเชื้อไข้เลือดออกและมีแหล่งเพาะพันธุ์ทั้งในบ้านและนอกบ้านในภาชนะที่มีน้ำขังทุกชนิด ทำให้ในพื้นที่มีความชุกชุมของลูกน้ำเพิ่มสูงขึ้นและมีแนวโน้มที่จะแพร่ระบาดสูงขึ้นเป็นประจำทุกปี สามารถพบผู้ป่วยได้ตลอดทั้งปี จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา พบว่าในปี 2559 มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 83 ราย เสียชีวิต 1 ราย ปี 2560 39 ราย ปี 2561 12 ราย และในปี 2562 (ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562) พบผู้ป่วย จำนวน 15 ราย โดยพบกระจายอยู่ในทุกหมู่บ้าน พบมากในช่วงฤดูฝนตั้งแต่เดือน พฤษภาคม เป็นต้นไป จนถึงปัจจุบัน ยังมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่อย่างต่อเนื่องและรวดเร็วให้ทันต่อการแพร่ระบาดของโรค ตลอดจนเพิ่มความเข้มข้นในมาตรการควบคุมโรค จัดเตรียมความพร้อมด้านงบประมาน บุคลากร อาสาสมัคร สารเคมีและวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงในการดำเนินงานควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ดังนั้น เครือข่ายชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปากบางจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกสามารถดำเนินการได้ทันต่อสถานการระบาดของโรคในปัจจุบันและครอบคลุมทุกหมู่บ้าน/ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาดได้รับการคุ้มครอง
  2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยในพื้นที่ที่มีการแพร่เชื้อไข้เลือดออก ไม่ให้มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
  3. เพื่อหยุดยั้งการแพร่เชื้อไข้เลือดออกไปสู่พื้นที่อื่นสามารถควบคุมโรคได้ทันเหตุการณ์
  4. เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดยุงตัวเต็มวัย ลดความชุกชุมของยุงลาย
  5. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำและชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานควบคุมโรคในระดับหมู่บ้านผู้ปฏิบัติงาน มีการป้องกันอันตรายจากสารเคมี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ผลิตภัณฑ์สารเคมีในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงตัวเต็มวัย
  2. ค่าชุดและอุปกรณ์ในการป้องกันอันตรายจากสารเคมีในการปฏิบัติงานของพนักงานพ่นเคมี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ที่พบผู้ป่วยให้น้อยลงหรือหมดไป
  2. สามารถลดการแพร่ระบาดของโรคจากพื้นที่ที่เป็นแหล่งแพร่เชื้อไปสู่พื้นที่อื่นและพื้นที่ใกล้เคียง
  3. สามารถลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายและยุงตัวเต็มวัยลดความเสี่ยงของการเกิดโรค
  4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานควบคุมโรคและแกนนำชุมชนมีความเข้มแข็งในการควบคุมโรคไข้เลือดออกแบบยั่งยืน
  5. มีการพัฒนาศักยภาพทีมปฏิบัติการควบคุมโรคในระดับตำบล/หมู่บ้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาดได้รับการคุ้มครอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาดได้รับการคุ้มครอง
100.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยในพื้นที่ที่มีการแพร่เชื้อไข้เลือดออก ไม่ให้มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ให้ลดลงหรือหมดไป ร้อยละของครอบคลุมพื้นที่แพร่เชื้อ
100.00

 

3 เพื่อหยุดยั้งการแพร่เชื้อไข้เลือดออกไปสู่พื้นที่อื่นสามารถควบคุมโรคได้ทันเหตุการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสามารถหยุดยั้งการแพร่เชื้อ สู่หมู่บ้าน/ชุมชน ใกล้เคียง
100.00

 

4 เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดยุงตัวเต็มวัย ลดความชุกชุมของยุงลาย
ตัวชี้วัด : - จำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง - ความชุมชุมของยุงลายลดลง จำนวน 8 หมู่บ้าน
90.00

 

5 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำและชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานควบคุมโรคในระดับหมู่บ้านผู้ปฏิบัติงาน มีการป้องกันอันตรายจากสารเคมี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชน มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกครอบคลุมของหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้ปฏิบัติงานได้รับการป้องกันอันตรายจากสารเคมี ในการพ่นควบคุมยุงลาย
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาดได้รับการคุ้มครอง (2) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยในพื้นที่ที่มีการแพร่เชื้อไข้เลือดออก ไม่ให้มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น (3) เพื่อหยุดยั้งการแพร่เชื้อไข้เลือดออกไปสู่พื้นที่อื่นสามารถควบคุมโรคได้ทันเหตุการณ์ (4) เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดยุงตัวเต็มวัย ลดความชุกชุมของยุงลาย (5) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำและชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานควบคุมโรคในระดับหมู่บ้านผู้ปฏิบัติงาน มีการป้องกันอันตรายจากสารเคมี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผลิตภัณฑ์สารเคมีในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงตัวเต็มวัย (2) ค่าชุดและอุปกรณ์ในการป้องกันอันตรายจากสารเคมีในการปฏิบัติงานของพนักงานพ่นเคมี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลปากบาง ปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5191-5-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเลาะฮ์ หัดเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด