กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ บูรณาการ การดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบครบวงจร ในศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาริชาติธนากุลรังษีพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ




ชื่อโครงการ โครงการ บูรณาการ การดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบครบวงจร ในศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ บูรณาการ การดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบครบวงจร ในศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ บูรณาการ การดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบครบวงจร ในศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ บูรณาการ การดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบครบวงจร ในศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 164,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพแบบบูรณาการและครบวงจรตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์จนถึงระยะท้ายของชีวิตซึ่งต้องดูแลทุกระยะตลอดชีวิตตั้งแต่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โดยทีมสุขภาพ ที่มีความเข้าใจ ตั้งใจมั่นใจในการให้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน จนเกิดความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ ความศรัทธาและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วม ของเทศบาลนครสงขลา ภาคประชาชนต่างๆ รวมทั้งการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นแนวคิดด้านสุขภาพที่มองบุคคลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจวิญญาณและสังคมที่มีความเชื่อมโยงเป็นเป็นหนึ่งเดียวกันศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขรพ.สงขลาร่วมกันดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง7ชุมชนให้ได้รับบริการขั้นพื้นฐานของชีวิตมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและเหมาะสมตามกลุ่มวัยอายุครบวงจรทุกด้าน ด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสุขภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขรพ.สงขลามีประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบประมาณ8,000คน2,400ครัวเรือนซึ่งประชาชนเหล่านี้ได้รับบริการด้านสุขภาพทั้งเชิงรุกในชุมชนและเชิงรับในศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข โดยมีผลงานการให้บริการย้อนหลัง3ปี พบว่า

ข้อมูลผลการดำเนินงาน3ปีย้อนหลัง ตัวชี้วัด ร้อยละ/เป้าหมาย ปี2557 ปี2558 ปี2559 ร้อยละมารดาตั้งครรภ์ก่อน12wks ได้รับการฝากครรภ์ 60 43.75 52.17 40.48 ร้อยละมารดาตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ตามมาตรฐาน5 ครั้ง 60 24.32 33.33 29.27 ร้อยละของเด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 90 85.10 88.25 91.35 ร้อยละของเด็กอายุ0-5 ปีพัฒนาการสมวัย 93 89.79 92.48 94.42 ร้อยละของเด็กของประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ 90 82.10 89.81 91.84 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 80 73.8 81.87 78.92 ร้อยละการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ 5 8.7 3.78 4.55 ร้อยละผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่PCUได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค 90 95.3 96.07 96.44 ร้อยละผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ 5 0.69 3.5 3.12 ร้อยละของผู้ป่วยเรื้อรังผู้พิการผู้สูงอายุ(ด้อยโอกาส)ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ 80 98 100 100 ร้อยละหญิงอายุ30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง 80 84.22 91.82 81.25 ร้อยละหญิงอายุ30 – 60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 20 12.18 15.4 6.23 ร้อยละของการตั้งครรภ์หญิงอายุ15 -19ปี น้อยกว่า20 19.5 21.6 22.3 ร้อยละของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT 80 68 72 75 ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคที่รักษาหาย 85 + 83.33 85.71 83.33

จากข้อมูลดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขได้เห็นความสำคัญที่จะดูแลประชาชนทุกกลุ่มวัยแบบบูรณาการและครบวงจรทุกด้านและเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานลดการเกิดโรครายใหม่และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรังและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการคัดกรองสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค
  2. 2.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
  3. 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิงได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมมีความพึงพอใจเชื่อมั่นศรัทธาต่อการรับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลและพึ่งตนเองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.  สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้ 1.ประชุมชี้แจงติดตาม – ประเมินผลกับ จนท. อสม. แกนนำสุขภาพ 2.คัดกรองสุขภาพ ติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนในชุมชน,กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แม่ตั้งครรภ์-หลังคลอดและบุคคลในครอบครัว-จิตอาสา(ชมรมแม่และเด็ก),กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มารดาที่มีบุตรน้ำหนักน้อย,กิจกรรมการประกวดแม่ลูกสุขภาพดี 3.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู และแกนนำนักเรียน นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ร.ร.แจ้งวิทยา เรื่องป้องกันการตั้งครรภ์วัยรุ่น 4.กิจกรรมการให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม,กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในคัดกรองตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก กลุ่มเสี่ยง -กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ กลุ่มป่วย -กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยเรื้อรัง,SHG,กิจกรรมจัดฐานการเรียนรู้ กลุ่มป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้พิการยากไร้ -การจัดอบรมฟื้นฟู การดูแลผู้ป่วยติดเตียงระยะท้ายให้กับผู้ดูแลและจิตอาสาที่บ้าน
    การเยี่ยมบ้านและการประเมินภาวะสุขภาพ -กิจกรรมสำรวจและประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ,ผู้ป่วยเรื้อรัง

    5.กิจกรรมอบรมฟื้นฟู ความรู้ทักษะอาหารปลอดภัยเจ้าของร้านอาหาร ขายของชำ แผงลอย และอสม.,กิจกรรมการออกประเมินตรวจร้านอาหาร ขายของชำ แผงลอย รถแร่
    6.กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านควบคุมกำกับการกินยาผู้ป่วยวัคโรคที่บ้าน
    7.การติดตามประเมินผล/สรุปโครงการ
    

    5.  สรุปการใช้งบประมาณ 5.1  งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร จำนวน  164,500 บาท 5.2  งบประมาณ ที่ใช้จริง              จำนวน  148,380 บาท
    ดังรายการ 1.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม                    จำนวน      111,900  บาท 2.  ค่าตอบแทนวิทยากร                              จำนวน          8,400  บาท 3.  ค่าวัสดุ                                                    จำนวน        25,400  บาท 4.  อื่น ๆ               จำนวน        2,680  บาท รวมทั้งสิ้น      จำนวน      148,380  บาท เงิน  คงเหลือ (ถ้ามี) จำนวน        16,120 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการคัดกรองสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ60มารดาตั้งครรภ์ก่อน12wks ได้รับการฝากครรภ์

     

    2 2.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ60มารดาตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ตามมาตรฐาน5 ครั้ง

     

    3 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิงได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ90ของเด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

     

    4
    ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ93ของเด็กอายุ0-5 ปีพัฒนาการสมวัย

     

    5
    ตัวชี้วัด : 5.ร้อยละ90ของประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ

     

    6
    ตัวชี้วัด : 6.ร้อยละ80ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

     

    7
    ตัวชี้วัด : 7.ร้อยละ5ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่

     

    8
    ตัวชี้วัด : 8.ร้อยละ90ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่PCUได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค

     

    9
    ตัวชี้วัด : 9.ร้อยละ5ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่

     

    10
    ตัวชี้วัด : 10.ร้อยละ80ของผู้ป่วยเรื้อรังผู้พิการผู้สูงอายุ(ด้อยโอกาส)ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ

     

    11
    ตัวชี้วัด : 11.ร้อยละ80หญิงอายุ30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง

     

    12
    ตัวชี้วัด : 12.ร้อยละ20หญิงอายุ30 – 60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก

     

    13
    ตัวชี้วัด : 13.ร้อยละของการตั้งครรภ์หญิงอายุ15 -19ปีน้อยกว่าร้อยละ20

     

    14
    ตัวชี้วัด : 14.ร้อยละ80ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT

     

    15
    ตัวชี้วัด : 15.ร้อยละ85ของผู้ป่วยวัณโรคที่รักษาหาย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการคัดกรองสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค (2) 2.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิงได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี (4)  (5)  (6)  (7)  (8)  (9)  (10)  (11)  (12)  (13)  (14)  (15)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ บูรณาการ การดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบครบวงจร ในศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-01-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวปาริชาติธนากุลรังษีพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด