กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ”
ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายวิทยา บือราเฮง




ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5191-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5191-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากขยะในทุกวันนี้ในทุกวันนี้ คนไทยกว่า 60 ล้านคน สามารถสร้างขยะได้มากถึง 14 ล้านตันต่อปี แต่ความสามารถในการจัดเก็บขยะ มีไม่ถึง 70% ของขยะที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่างๆ หรือการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้น ซึ่งไม่ถูกตามหลักสุขาภิบาล ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น อากาศเสีย เกิดปัญหาสารพิษตกค้างในดินและแหล่งน้ำ เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค เช่น ยุง หนู แมลงสาบ ฯลฯ ซึ่งพาหะของโรคติดต่อหลายชนิด นอกจากนี้ ขยะยังเป็นเหตุรำคาญและความไม่น่าดู ทำให้มีกลิ่นเหม็น สาเหตุ เนื่องจากประชากรในประเทศมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มมากขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น ทำให้เกิดปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกำจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ จึงมีขยะตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมาก บ้านตูหยง หมู่ที่ 2 ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา เป็นหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลปากบาง ซึ่งยังไม่มีระบบการเก็บขนขยะ เพื่อกำจัดอย่างครบวงจร ดังนั้น บ้านตูหยง ซึ่งมีปัญหาขยะเกือบร้อยละ 90 ของหลังคาเรือน ยังไม่มีระบบการคัดแยกขยะที่เข้มแข็งทำให้ขยะเต็มข้างถนน และไม่มีการคัดแยกและทำลาย ณ แหล่งกำเนิดขยะในครัวเรือน และยังไม่มีระบบการคัดแยกตามหลัก 3Rs ดังนั้น คณะกรรมการหมู่บ้านตูหยง หมู่ที่ 2 จึงจัดทำโครงการ หมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ขึ้น เพื่อเป็นกลไกวิธีหนึ่งในการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน
  2. เพื่อลดปริมาณขยะก่อนเข้ามาสู่กระบวนการกำจัด โดยการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำเชื้อโรคติดต่อ ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กาจัดอบรมให้ความรู้ พัฒนาทักษะการจัดการขยะให้แก่ประชาชนในครัวเรือน เยาวชน และนักเรียน
  2. การพัฒนาระบบและกลไกด้านการจัดการขยะ
  3. การมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่มีความรู้และจิตสำนึกในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน
  2. สามารถลดปริมาณขยะก่อนเข้าสู่กระบวนการเก็บขน กำจัด มีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. ลดแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค เช่น หนู แมลงสาบ ยุง ฯลฯ และลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของจำนวนครัวเรือนมีการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพิ่มขึ้น
80.00

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะก่อนเข้ามาสู่กระบวนการกำจัด โดยการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวแทนครัวเรือนที่มีส่วนร่วมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
90.00

 

4 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำเชื้อโรคติดต่อ ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อลดลงหรือหมดไป ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ของสัตว์พาหะนำโรค
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน (2) เพื่อลดปริมาณขยะก่อนเข้ามาสู่กระบวนการกำจัด โดยการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน (4) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำเชื้อโรคติดต่อ ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กาจัดอบรมให้ความรู้ พัฒนาทักษะการจัดการขยะให้แก่ประชาชนในครัวเรือน เยาวชน และนักเรียน (2) การพัฒนาระบบและกลไกด้านการจัดการขยะ (3) การมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5191-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิทยา บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด