ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายชาคริต โภชะเรือง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-52 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-52 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ในประชาชน เช่น โรคมะเร็ง และโรคระบบทางเดินอาหาร สาเหตุส่วนหนึ่ง
มาจากรบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น อาหารปิ้งย่าง อาหารปนเปื้อนยาฆ่าแมลง สารเร่งเนื้อแดง
สารฟอร์มาลีน และสารฟอกขาวเป็นต้น การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้
ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้น สำหรับคนเมืองที่มีพื้นที่จำกัดและประชาชนที่ไม่เคย
ปลูกผักเองเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนอง ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการบริโภค
ที่ปลอดภัยถูกหลักอนามัยสำหรับประชาชน มูลนิธิชุมชนสงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอด
สารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคขึ้น เพื่อการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยควรสร้างความรู้ ความเข้าใจใน
การเลือกซื้ออาหาร เพื่อกานำมาบริโกศในครัวเรือน เพราะหากกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในการเลือกซื้อ เลือก
บริโภค ก็สามารถส่งผลให้คนในครอบครัวได้รับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยไปด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค
- เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และฝึกปฏิบัติจริง การเพาะถั่วงอก/การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน
- จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานผัก และการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ประชาชน
- ให้ความรู้เรื่องผักปลอดสารพิษและฝึกปฏิบัติจริงการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
- ให้ความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และปุ๋ยก้อนจากขยะอินทรีย์
- ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง การปลูกผักปลอดสารพิษ และการนำวัสดุเหลือใช้มาปลูกผักในรูปแบบต่างๆ
- ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่องการล้างผักที่ปลอดภัย และการทำน้ำส้มหมักจากกล้วย
- ให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดสารพิษ พร้อมฝึกปฏิบัติการทำสบู่สมุนไพร สบู่เหลวและแชมพูสำหรับการใช้ในครัวเรือน
- ให้ความรู้การเลี้ยงไส้เดือน และการทำน้ำหมักอเนกประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ในเื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีสุขภาพที่ดี
2.ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองในครัวเรือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และฝึกปฏิบัติจริง การเพาะถั่วงอก/การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมเช่น เมล็ดถั่วเขียว เมล็ดทานตะวัน มีดคัตเตอร์ กะละมังพลาสติก ขุยมะพร้าวและดินผผสม เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 53 คน
53
0
2. จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานผัก และการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ประชาชน
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดบูธ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีบูธที่สวยงามน่าเข้าชม
400
0
3. ให้ความรู้เรื่องผักปลอดสารพิษและฝึกปฏิบัติจริงการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
วันที่ 6 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงาน เช่น ถังพลาสติก หัวก๊อกพร้อมข้อต่อพีวีซี ถุงตาข่าย กากน้ำตาล และน้ำตาลทรายแดง เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 84 คน
84
0
4. ให้ความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และปุ๋ยก้อนจากขยะอินทรีย์
วันที่ 7 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เช่น ดิน มูลวัว มูลไก่ แกลบเผา ขุยมะพร้าว และมูลไส้เดือน เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 71 คน
71
0
5. ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง การปลูกผักปลอดสารพิษ และการนำวัสดุเหลือใช้มาปลูกผักในรูปแบบต่างๆ
วันที่ 8 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เช่น กรรไกร เมล็ดพันธุ์ผัก ดินผสม ปุ๋ยหมักชีวภาพ และมูลไส้เดือน เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 77 คน
77
0
6. ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่องการล้างผักที่ปลอดภัย และการทำน้ำส้มหมักจากกล้วย
วันที่ 9 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เช่นน้ำตาลทรายแดง กล้วย มีด และเขียง เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 62 คน
62
0
7. ให้ความรู้การเลี้ยงไส้เดือน และการทำน้ำหมักอเนกประสงค์
วันที่ 11 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
เตรียมวัสดุอุกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงาน เช่น มูลวัวนม ดิน ไส้เดือน และกะละมัง เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 57 คน
57
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค
ตัวชี้วัด : คนในชุมชนมีความรู้เรื่องการเลือกรับประทานอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
0.00
2
เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค (2) เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และฝึกปฏิบัติจริง การเพาะถั่วงอก/การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน (2) จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานผัก และการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ประชาชน (3) ให้ความรู้เรื่องผักปลอดสารพิษและฝึกปฏิบัติจริงการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (4) ให้ความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และปุ๋ยก้อนจากขยะอินทรีย์ (5) ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง การปลูกผักปลอดสารพิษ และการนำวัสดุเหลือใช้มาปลูกผักในรูปแบบต่างๆ (6) ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่องการล้างผักที่ปลอดภัย และการทำน้ำส้มหมักจากกล้วย (7) ให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดสารพิษ พร้อมฝึกปฏิบัติการทำสบู่สมุนไพร สบู่เหลวและแชมพูสำหรับการใช้ในครัวเรือน (8) ให้ความรู้การเลี้ยงไส้เดือน และการทำน้ำหมักอเนกประสงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-52
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชาคริต โภชะเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายชาคริต โภชะเรือง
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-52 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-52 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ในประชาชน เช่น โรคมะเร็ง และโรคระบบทางเดินอาหาร สาเหตุส่วนหนึ่ง มาจากรบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น อาหารปิ้งย่าง อาหารปนเปื้อนยาฆ่าแมลง สารเร่งเนื้อแดง สารฟอร์มาลีน และสารฟอกขาวเป็นต้น การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้น สำหรับคนเมืองที่มีพื้นที่จำกัดและประชาชนที่ไม่เคย ปลูกผักเองเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนอง ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการบริโภค ที่ปลอดภัยถูกหลักอนามัยสำหรับประชาชน มูลนิธิชุมชนสงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอด สารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคขึ้น เพื่อการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยควรสร้างความรู้ ความเข้าใจใน การเลือกซื้ออาหาร เพื่อกานำมาบริโกศในครัวเรือน เพราะหากกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในการเลือกซื้อ เลือก บริโภค ก็สามารถส่งผลให้คนในครอบครัวได้รับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยไปด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค
- เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และฝึกปฏิบัติจริง การเพาะถั่วงอก/การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน
- จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานผัก และการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ประชาชน
- ให้ความรู้เรื่องผักปลอดสารพิษและฝึกปฏิบัติจริงการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
- ให้ความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และปุ๋ยก้อนจากขยะอินทรีย์
- ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง การปลูกผักปลอดสารพิษ และการนำวัสดุเหลือใช้มาปลูกผักในรูปแบบต่างๆ
- ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่องการล้างผักที่ปลอดภัย และการทำน้ำส้มหมักจากกล้วย
- ให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดสารพิษ พร้อมฝึกปฏิบัติการทำสบู่สมุนไพร สบู่เหลวและแชมพูสำหรับการใช้ในครัวเรือน
- ให้ความรู้การเลี้ยงไส้เดือน และการทำน้ำหมักอเนกประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ในเื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีสุขภาพที่ดี
2.ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองในครัวเรือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และฝึกปฏิบัติจริง การเพาะถั่วงอก/การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน |
||
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมเช่น เมล็ดถั่วเขียว เมล็ดทานตะวัน มีดคัตเตอร์ กะละมังพลาสติก ขุยมะพร้าวและดินผผสม เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 53 คน
|
53 | 0 |
2. จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานผัก และการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ประชาชน |
||
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดบูธ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีบูธที่สวยงามน่าเข้าชม
|
400 | 0 |
3. ให้ความรู้เรื่องผักปลอดสารพิษและฝึกปฏิบัติจริงการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง |
||
วันที่ 6 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงาน เช่น ถังพลาสติก หัวก๊อกพร้อมข้อต่อพีวีซี ถุงตาข่าย กากน้ำตาล และน้ำตาลทรายแดง เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 84 คน
|
84 | 0 |
4. ให้ความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และปุ๋ยก้อนจากขยะอินทรีย์ |
||
วันที่ 7 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำจัดวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เช่น ดิน มูลวัว มูลไก่ แกลบเผา ขุยมะพร้าว และมูลไส้เดือน เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 71 คน
|
71 | 0 |
5. ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง การปลูกผักปลอดสารพิษ และการนำวัสดุเหลือใช้มาปลูกผักในรูปแบบต่างๆ |
||
วันที่ 8 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำจัดวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เช่น กรรไกร เมล็ดพันธุ์ผัก ดินผสม ปุ๋ยหมักชีวภาพ และมูลไส้เดือน เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 77 คน
|
77 | 0 |
6. ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่องการล้างผักที่ปลอดภัย และการทำน้ำส้มหมักจากกล้วย |
||
วันที่ 9 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เช่นน้ำตาลทรายแดง กล้วย มีด และเขียง เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 62 คน
|
62 | 0 |
7. ให้ความรู้การเลี้ยงไส้เดือน และการทำน้ำหมักอเนกประสงค์ |
||
วันที่ 11 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำเตรียมวัสดุอุกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงาน เช่น มูลวัวนม ดิน ไส้เดือน และกะละมัง เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 57 คน
|
57 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค ตัวชี้วัด : คนในชุมชนมีความรู้เรื่องการเลือกรับประทานอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค (2) เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และฝึกปฏิบัติจริง การเพาะถั่วงอก/การปลูกต้นอ่อนทานตะวัน (2) จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานผัก และการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ประชาชน (3) ให้ความรู้เรื่องผักปลอดสารพิษและฝึกปฏิบัติจริงการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (4) ให้ความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และปุ๋ยก้อนจากขยะอินทรีย์ (5) ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง การปลูกผักปลอดสารพิษ และการนำวัสดุเหลือใช้มาปลูกผักในรูปแบบต่างๆ (6) ให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่องการล้างผักที่ปลอดภัย และการทำน้ำส้มหมักจากกล้วย (7) ให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดสารพิษ พร้อมฝึกปฏิบัติการทำสบู่สมุนไพร สบู่เหลวและแชมพูสำหรับการใช้ในครัวเรือน (8) ให้ความรู้การเลี้ยงไส้เดือน และการทำน้ำหมักอเนกประสงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-52
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชาคริต โภชะเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......