พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายนิพนธ์ รัตนาคม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
ธันวาคม 2562
ชื่อโครงการ พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-54 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2562 ถึง 30 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-54 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2562 - 30 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติฉบับที่ห้าพุทธศักราช 2560 - 2564 ซึ่งกำหนดวิสัยทัศน์คนพิการเข้าถึงสิทธิที่เป็นจริงดำรงชีวิตอิสระในสังคมที่อยู่ อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติระยะ 20 ปีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 รัฐบาลได้เร่งรัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดูแลคุณภาพชีวิตคนพิการข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสงขลาระบุว่าจังหวัดสงขลามีจำนวนคนพิการที่ขึ้นทะเบียนคนพิการทั้งสิ้น 28,887 คนโดยแบ่งเป็นประเภทความพิการได้แก่การทางการมองเห็นจำนวน 1,814 คนพิการทางการได้ยินจำนวน 6,290 คนพิการทางกาย/การเคลื่อนไหวจำนวน 12,918 คนพิการทางจิตและพฤติกรรมจำนวน 2,037 คนพิการทางสติปัญญาจำนวน 2,227 คนพิการทางการเรียนรู้จำนวน 600 คนพิการทางออทิสติกจำนวน 161 คนและพิการซ้ำซ้อนจำนวน 2,833 คนอย่างไรก็ตามผู้พิการและครอบครัวส่วนมากยังขาดความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้พิการโดยเฉพาะวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับบริบทร่างกายและสภาพความพิการดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครอบครัวผู้พิการมีความรู้ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในครอบครัวจึงเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมี มีส่วนร่วมเนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้พิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อคุณภาพซีวิดของผู้พิการรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่อาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการในชุมชน
- เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมครั้งที่3
- อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ/ออกกำลังกายแก่อาสาสมัครและผู้พิการ
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
- การให้ความรู้ในงานมหกรรมสุขภาพ
- ให้ความรู้ผู้พิการและดูแลผู้พิการ
- สรุปผลการดำเนินการ
- การประสานงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดระบบอาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการเพื่อถ่ายทอดความรู้แก่ครอบครัวผู้พิการ
2.ผู้พิการและครอบครัวมีความรู้และทักษะด้านการดูแลสุขภาพตนเองโดยเฉพาะการออกกำลังกายและการดูแลสุขภาพที่เหมาะกับบริบทของผู้พิการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมทีมครั้งที่3
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
เพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
0
0
2. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ/ออกกำลังกายแก่อาสาสมัครและผู้พิการ
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
เพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
0
0
3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
เพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
0
0
4. การให้ความรู้ในงานมหกรรมสุขภาพ
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
เพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
0
0
5. ให้ความรู้ผู้พิการและดูแลผู้พิการ
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
เพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
0
0
6. สรุปผลการดำเนินการ
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
เพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
0
0
7. การประสานงาน
วันที่ 13 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ติดต่อประสานงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่อาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีผู้สนใจเข้าร่วมรับการอบรมและร่วมเป็นอาสาสมัครระยะยาวเพื่อเยี่ยมเยียนและดูแลผู้พิการในพื้นที่จำนวน 30 คน
2.อาสาสมัครร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการถ่ายทอดความรู้การดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ
0.00
2
เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ
ตัวชี้วัด : 1.ครอบครัวผู้พิการอย่างน้อย 40 ครัวเรือนได้รับการเยี่ยมเยียนจากอาสาสมัคร
2.ผู้พิการและผู้ดูแลร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้พิการและส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้พิการได้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่อาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการในชุมชน (2) เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมครั้งที่3 (2) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ/ออกกำลังกายแก่อาสาสมัครและผู้พิการ (3) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (4) การให้ความรู้ในงานมหกรรมสุขภาพ (5) ให้ความรู้ผู้พิการและดูแลผู้พิการ (6) สรุปผลการดำเนินการ (7) การประสานงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-54
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนิพนธ์ รัตนาคม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายนิพนธ์ รัตนาคม
ธันวาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-54 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2562 ถึง 30 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-54 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2562 - 30 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติฉบับที่ห้าพุทธศักราช 2560 - 2564 ซึ่งกำหนดวิสัยทัศน์คนพิการเข้าถึงสิทธิที่เป็นจริงดำรงชีวิตอิสระในสังคมที่อยู่ อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติระยะ 20 ปีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 รัฐบาลได้เร่งรัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดูแลคุณภาพชีวิตคนพิการข้อมูลจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสงขลาระบุว่าจังหวัดสงขลามีจำนวนคนพิการที่ขึ้นทะเบียนคนพิการทั้งสิ้น 28,887 คนโดยแบ่งเป็นประเภทความพิการได้แก่การทางการมองเห็นจำนวน 1,814 คนพิการทางการได้ยินจำนวน 6,290 คนพิการทางกาย/การเคลื่อนไหวจำนวน 12,918 คนพิการทางจิตและพฤติกรรมจำนวน 2,037 คนพิการทางสติปัญญาจำนวน 2,227 คนพิการทางการเรียนรู้จำนวน 600 คนพิการทางออทิสติกจำนวน 161 คนและพิการซ้ำซ้อนจำนวน 2,833 คนอย่างไรก็ตามผู้พิการและครอบครัวส่วนมากยังขาดความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้พิการโดยเฉพาะวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับบริบทร่างกายและสภาพความพิการดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครอบครัวผู้พิการมีความรู้ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในครอบครัวจึงเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมี มีส่วนร่วมเนื่องจากความพิการทางร่างกายและทางจิตส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้พิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อคุณภาพซีวิดของผู้พิการรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่อาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการในชุมชน
- เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมครั้งที่3
- อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ/ออกกำลังกายแก่อาสาสมัครและผู้พิการ
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
- การให้ความรู้ในงานมหกรรมสุขภาพ
- ให้ความรู้ผู้พิการและดูแลผู้พิการ
- สรุปผลการดำเนินการ
- การประสานงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดระบบอาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการเพื่อถ่ายทอดความรู้แก่ครอบครัวผู้พิการ
2.ผู้พิการและครอบครัวมีความรู้และทักษะด้านการดูแลสุขภาพตนเองโดยเฉพาะการออกกำลังกายและการดูแลสุขภาพที่เหมาะกับบริบทของผู้พิการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมทีมครั้งที่3 |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำเพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
|
0 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ/ออกกำลังกายแก่อาสาสมัครและผู้พิการ |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำเพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
|
0 | 0 |
3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำเพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
|
0 | 0 |
4. การให้ความรู้ในงานมหกรรมสุขภาพ |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำเพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
|
0 | 0 |
5. ให้ความรู้ผู้พิการและดูแลผู้พิการ |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำเพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
|
0 | 0 |
6. สรุปผลการดำเนินการ |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำเพื่อถา่ยทอดความรู้ให้กับผู้พิการสมารถดูแลตัวเองได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคนในครอบครัวสามารถดูและผู้ป่าวยผู้พิการได้
|
0 | 0 |
7. การประสานงาน |
||
วันที่ 13 พฤษภาคม 2563กิจกรรมที่ทำติดต่อประสานงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่อาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการในชุมชน ตัวชี้วัด : 1.มีผู้สนใจเข้าร่วมรับการอบรมและร่วมเป็นอาสาสมัครระยะยาวเพื่อเยี่ยมเยียนและดูแลผู้พิการในพื้นที่จำนวน 30 คน 2.อาสาสมัครร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการถ่ายทอดความรู้การดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ ตัวชี้วัด : 1.ครอบครัวผู้พิการอย่างน้อย 40 ครัวเรือนได้รับการเยี่ยมเยียนจากอาสาสมัคร 2.ผู้พิการและผู้ดูแลร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้พิการและส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้พิการได้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาทักษะให้แก่อาสาสมัครเยี่ยมเยียนผู้พิการในชุมชน (2) เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการส่งเสริมการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายแก่ผู้พิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมครั้งที่3 (2) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ/ออกกำลังกายแก่อาสาสมัครและผู้พิการ (3) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (4) การให้ความรู้ในงานมหกรรมสุขภาพ (5) ให้ความรู้ผู้พิการและดูแลผู้พิการ (6) สรุปผลการดำเนินการ (7) การประสานงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
พัฒนาทีมอาสาสมัครเพื่อถ่ายทอดแนวทางการเสริมสร้างสุขภาพแก่ผู้พิการ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-54
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนิพนธ์ รัตนาคม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......