กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ 3Rsลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางวิจิตรา ทองรักษา




ชื่อโครงการ 3Rsลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-57 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"3Rsลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
3Rsลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " 3Rsลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-57 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ใบปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ ซึ่งเทศบาลนครหาดใหญ่ก็มีปัญหาการจัดการขยะที่เป็นระบบเช่นเดียวกัน สาเหตุเนื่องมาจากปริมาณขยะมูลฝอยมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นในทุกปี โดยชุมชน จะเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อมมากที่สุดแม้ว่าขยะตามชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตรายเมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตตะสากรรมหรือการเกษตรกรรมแต่ถ้ามีปริมาณมากก็ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆอาทิเช่นผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเนื่องจากน้ำเสียที่เกิดจากขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้มีความสกปรกสูงมากซึ่งมีทั้งสารอินทรีย์ศาลอนินทรีย์ซีเชิญโลกและสารพิษต่างๆเจือปนอยู่เมื่อน้ำเสียจากก็ขยะมูลฝอยไหลไปตามพื้นดิน จะทำให้เกิดความสกปรกและความเสื่อมโทรมของพื้นดินและแหล่งน้ำนอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้นั่นนานจะมีก๊าซที่เกิดจากการมากขึ้นได้แก่ก๊าซชีวภาพซึ่งติดป้ายหรือเกิดระเบิดขึ้นได้และการ์ดไข่เน่า(ก๊าซให้โดเจนสันไฟล์) ซึ่งมีกินเหม็นก่อให้เกิดความรำคาญแก่ประชาชนข้างเคียงและผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนเนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นหนึ่งอาหารและแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงนำโรคเช่นแมลงวันแมลงสาปยุงฯลฯ และเป็นที่สุดซ่อนของหนูและสัตว์อื่นๆซึ่งจะเป็นสาเหตุของการเกิดโรคระบาดในพื้นที่อาทิเช่นโรคใครเลือดออกโรคฉี่หนูโรคทางเดินอาหารเป็นต้นจึงควรส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะในครัวเรือนของตนซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลรัฐบาลภายใต้แนวคิดประชารัฐเพื่อให้ประชาชนและชุมชนส่งเสริมการดำเนินการตามหลัก3Rsได้แก่การลดการใช้(Reduce)การใช้ซ้ำ(Reuse)และการนำกลับมาใช้ใหม่(Recycle)เครือข่ายชุมชนนักสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการ3Rs ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อมขึ้นเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและชุมชนได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็นในการคัดแยกขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะซึ่งจะเป็นการลดปริมาณขยะที่มีประสิทธิภาพและป้องกันปัญหาการเกิดมลพิษในอนาคตทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละคนเดือนมีการจัดการขยะ ที่ต้นทางกลางทางและปลายทางเพื่อไม่ให้ขยะดังกาวตกค้างทำให้ชุมชนสะอาดน่าอยู่และไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ลูกจากขยะในครัวเรือนและชุมชนอันจะส่งผลดีต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยโดยใช้หลักการ3Rsคือการใช้น้อยใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
  2. เพื่อลดแหล่งเพาะโรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดนิทรรศการ
  2. ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมพร้อมสาธิตการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
  3. ให้ความรู้เรื่องการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติจริง การทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และการนำไปใช้ประโยชน์
  4. ให้ความรู้เรื่องการนำขยะมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์
  5. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษผ้าเป็นของใช้ต่างๆ เช่นถุงบีบนวดมือ แจกัน ถุงผ้า เป็นต้น
  6. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษกระดาษเป็นของใช้ต่างๆ
  7. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและสาธิตการทำสบู่ซักล้างจากน้ำมันพืชเหลือใช้
  8. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติการทำสิ่งประดิษฐ์จากถุงพลาสติก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีจิตสำนึกในการใช้หลักการ 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำ และการนำกลับมาใช้ใหม่

2.ครัวเรือมีการควบคุมและลดแหล่งเพาะพันธ์ุโรคจากขยะมูลฝอยในครัวเรือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมพร้อมสาธิตการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง

วันที่ 5 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมพร้อมสาธิตการคัดแยกขยะก่อนทิ้งแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมพร้อมสาธิตการคัดแยกขยะก่อนทิ้งและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

200 0

2. ให้ความรู้เรื่องการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติจริง การทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และการนำไปใช้ประโยชน์

วันที่ 6 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติจริง การทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และการนำไปใช้ประโยชน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติจริง การทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และการนำไปใช้ประโยชน์ และสามารถนำมาปรับใช้ในครัวเรือนของตนเองได้

 

200 0

3. ให้ความรู้เรื่องการนำขยะมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์

วันที่ 7 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการนำขยะมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการนำขยะมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และสามารถนำมาปรับใช้กับครอบครัวตนเองได้

 

200 0

4. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษผ้าเป็นของใช้ต่างๆ เช่นถุงบีบนวดมือ แจกัน ถุงผ้า เป็นต้น

วันที่ 8 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษผ้าเป็นของใช้ต่างๆ เช่นถุงบีบนวดมือ แจกัน ถุงผ้า เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษผ้าเป็นของใช้ต่างๆ และสามารถนำมาถ่ายทอดให้คนใกล้ชิดและชุมชนได้

 

200 0

5. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษกระดาษเป็นของใช้ต่างๆ

วันที่ 9 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษกระดาษเป็นของใช้ต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษกระดาษเป็นของใช้ต่างๆให้เป็นประโยชน์

 

200 0

6. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและสาธิตการทำสบู่ซักล้างจากน้ำมันพืชเหลือใช้

วันที่ 10 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและสาธิตการทำสบู่ซักล้างจากน้ำมันพืชเหลือใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและสามารถปฏิบัติการทำสบู่ซักล้างจากน้ำมันพืชเหลือใช้ได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด

 

200 0

7. ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติการทำสิ่งประดิษฐ์จากถุงพลาสติก

วันที่ 11 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติการทำสิ่งประดิษฐ์จากถุงพลาสติก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติการทำสิ่งประดิษฐ์จากถุงพลาสติกได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด

 

200 0

8. การจัดนิทรรศการ

วันที่ 11 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมอุปกรณ์ตกแต่งบูธจัดนิทรรศการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บูธที่สวยงามทำให้มีผู้สนใจเข้าบูธมากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยโดยใช้หลักการ3Rsคือการใช้น้อยใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องมากขึ้น
0.00

 

2 เพื่อลดแหล่งเพาะโรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ชุมชนในเขตเทศบาลมีแหล่งเพาะพันธ์โรคจากมูลฝอยน้อยลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยโดยใช้หลักการ3Rsคือการใช้น้อยใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่ (2) เพื่อลดแหล่งเพาะโรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดนิทรรศการ (2) ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมพร้อมสาธิตการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (3) ให้ความรู้เรื่องการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติจริง การทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์และการนำไปใช้ประโยชน์ (4) ให้ความรู้เรื่องการนำขยะมาใช้ประโยชน์และฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์ (5) ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษผ้าเป็นของใช้ต่างๆ เช่นถุงบีบนวดมือ แจกัน ถุงผ้า เป็นต้น (6) ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติ DIY จากเศษกระดาษเป็นของใช้ต่างๆ (7) ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและสาธิตการทำสบู่ซักล้างจากน้ำมันพืชเหลือใช้ (8) ให้ความรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าขยะและฝึกปฏิบัติการทำสิ่งประดิษฐ์จากถุงพลาสติก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


3Rsลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-57

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิจิตรา ทองรักษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด