เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 ”
ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี ดวงมะลิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562
ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5191-2-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5191-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของกระทรวงสาธารณสุข มีเป้าหมายให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ตามความจำเป็น โดยถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนไม่ใช่เรื่องที่รัฐจัดให้หรือช่วยเหลือประชาชน อย่างไรก็ตามการสร้างหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพเพียงอย่างเดียว คงไม่เพียงพอที่จะทำให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพที่ดีได้และการที่ประชาชนจะมีสุขภาพที่ดีนั้น จะต้องสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพได้มากขึ้น ฉะนั้นการให้บริการสาธารณสุขในยุคปฏิรูประบบบริการสุขภาพจึงมุ่งเน้นการสร้างสุขภาพนำการซ่อมสุขภาพ
การให้บริการปฐมภูมิเป็นจุดบริการด่านหน้าที่มีความสำคัญ ที่จะทำหน้าที่ให้บริการแบบผสมผสานต่อเนื่องเชื่อมโยงในชุมชนโดยมีจุดแข็งคือการบริการแบบใกล้บ้าน หมายถึงที่ตั้งของหน่วยบริการตั้งอยู่ในชุมชนและใกล้ใจหมายถึง บริการแบบเป็นกันเอง แบบชาวบ้านทำให้ระยะห่างระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการน้อยลงรวมถึงการรักษาพยาบาล งานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันและควบคุมโรค และงานฟื้นฟูสมรรถภาพนอกจากจะดำเนินการให้บริการประชาชนครอบคลุมกิจกรรมดังกล่าวแล้ว การบริการที่มีคุณภาพซึ่งเป็นบริการที่ประชาชนยอมรับ อยากได้และชื่นชมนั้นถือได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง เพื่อให้ผู้รับบริการมีความมั่นใจศรัทธาในบริการและผู้ให้บริการ การจัดระบบบริการของศูนย์สุขภาพชุมชนเป็นการปฏิรูประบบบริการแนวใหม่ จึงจำเป็นต้องปรับระบบบริการเดิมที่เคยปฏิบัติ เพื่อให้เกิดบริการที่มีคุณภาพและส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด มีพื้นที่รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน 744 หลังคาเรือน ประชากร 2,589 คน ข้อมูลจากการสำรวจ ณ. เดือนกันยายน 2560 มีกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง 259 คน ผู้พิการ 25 คน ผู้ป่วยสุขภาพจิต 3 คน กลุ่มผู้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก 50 คน ผู้สูงอายุ 374 คน ซึ่งในปี 2561 ประชาชนกลุ่มดังกล่าวจะต้องได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน 100% แต่ด้วยข้อจำกัดด้านบุคลากรของสถานบริการและบริบทในแต่ละพื้นที่แตกต่างกัน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน โดยการพัฒนาแกนนำครัวเรือน ให้มีองค์ความรู้และฝึกปฏิบัติในการออกเยี่ยมบ้าน การดูแลและบริการผู้ป่วยที่บ้านตามมาตรฐานการเยี่ยมบ้านและนำข้อมูลจากการออกเยี่ยมบ้าน โดยรูปแบบที่ดำเนินการโดยชุมชน เพื่อชุมชน ดังนั้น ชมรม อสม. รพ.สต.ตาแปด จึงจัดทำโครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำครัวเรือน ในการให้บริการเยี่ยมบ้าน
- เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมแกนนำครัวเรือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำครัวเรือน มีความรู้และให้บริการเยี่ยมบ้าน
- ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมบ้าน ครบ 100%
- ชุมชนมีอาสาสมัครเยี่ยมบ้านประจำหมู่บ้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำครัวเรือน ในการให้บริการเยี่ยมบ้าน
ตัวชี้วัด : มีแกนนำครัวเรือนในการเยี่ยมบ้าน ร้อยละของจำนวนครัวเรือนแต่ละหมู่บ้าน
10.00
2
เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรได้รับการเยี่ยมบ้านตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำครัวเรือน ในการให้บริการเยี่ยมบ้าน (2) เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำครัวเรือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5191-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพรรณี ดวงมะลิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 ”
ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี ดวงมะลิ
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5191-2-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5191-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของกระทรวงสาธารณสุข มีเป้าหมายให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ตามความจำเป็น โดยถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนไม่ใช่เรื่องที่รัฐจัดให้หรือช่วยเหลือประชาชน อย่างไรก็ตามการสร้างหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพเพียงอย่างเดียว คงไม่เพียงพอที่จะทำให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพที่ดีได้และการที่ประชาชนจะมีสุขภาพที่ดีนั้น จะต้องสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพได้มากขึ้น ฉะนั้นการให้บริการสาธารณสุขในยุคปฏิรูประบบบริการสุขภาพจึงมุ่งเน้นการสร้างสุขภาพนำการซ่อมสุขภาพ
การให้บริการปฐมภูมิเป็นจุดบริการด่านหน้าที่มีความสำคัญ ที่จะทำหน้าที่ให้บริการแบบผสมผสานต่อเนื่องเชื่อมโยงในชุมชนโดยมีจุดแข็งคือการบริการแบบใกล้บ้าน หมายถึงที่ตั้งของหน่วยบริการตั้งอยู่ในชุมชนและใกล้ใจหมายถึง บริการแบบเป็นกันเอง แบบชาวบ้านทำให้ระยะห่างระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการน้อยลงรวมถึงการรักษาพยาบาล งานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันและควบคุมโรค และงานฟื้นฟูสมรรถภาพนอกจากจะดำเนินการให้บริการประชาชนครอบคลุมกิจกรรมดังกล่าวแล้ว การบริการที่มีคุณภาพซึ่งเป็นบริการที่ประชาชนยอมรับ อยากได้และชื่นชมนั้นถือได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง เพื่อให้ผู้รับบริการมีความมั่นใจศรัทธาในบริการและผู้ให้บริการ การจัดระบบบริการของศูนย์สุขภาพชุมชนเป็นการปฏิรูประบบบริการแนวใหม่ จึงจำเป็นต้องปรับระบบบริการเดิมที่เคยปฏิบัติ เพื่อให้เกิดบริการที่มีคุณภาพและส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด มีพื้นที่รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน 744 หลังคาเรือน ประชากร 2,589 คน ข้อมูลจากการสำรวจ ณ. เดือนกันยายน 2560 มีกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง 259 คน ผู้พิการ 25 คน ผู้ป่วยสุขภาพจิต 3 คน กลุ่มผู้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก 50 คน ผู้สูงอายุ 374 คน ซึ่งในปี 2561 ประชาชนกลุ่มดังกล่าวจะต้องได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน 100% แต่ด้วยข้อจำกัดด้านบุคลากรของสถานบริการและบริบทในแต่ละพื้นที่แตกต่างกัน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน โดยการพัฒนาแกนนำครัวเรือน ให้มีองค์ความรู้และฝึกปฏิบัติในการออกเยี่ยมบ้าน การดูแลและบริการผู้ป่วยที่บ้านตามมาตรฐานการเยี่ยมบ้านและนำข้อมูลจากการออกเยี่ยมบ้าน โดยรูปแบบที่ดำเนินการโดยชุมชน เพื่อชุมชน ดังนั้น ชมรม อสม. รพ.สต.ตาแปด จึงจัดทำโครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำครัวเรือน ในการให้บริการเยี่ยมบ้าน
- เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมแกนนำครัวเรือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำครัวเรือน มีความรู้และให้บริการเยี่ยมบ้าน
- ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมบ้าน ครบ 100%
- ชุมชนมีอาสาสมัครเยี่ยมบ้านประจำหมู่บ้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำครัวเรือน ในการให้บริการเยี่ยมบ้าน ตัวชี้วัด : มีแกนนำครัวเรือนในการเยี่ยมบ้าน ร้อยละของจำนวนครัวเรือนแต่ละหมู่บ้าน |
10.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรได้รับการเยี่ยมบ้านตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำครัวเรือน ในการให้บริการเยี่ยมบ้าน (2) เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับการเยี่ยมตามมาตรฐานงานเยี่ยมบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำครัวเรือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตใหม่ผู้ป่วยในชุมชน ปี 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5191-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพรรณี ดวงมะลิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......