กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพและค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงด้านสมรรถภาพทางกาย ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
ฝ่ายบริการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่




ชื่อโครงการ คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพและค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงด้านสมรรถภาพทางกาย

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพและค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงด้านสมรรถภาพทางกาย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพและค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงด้านสมรรถภาพทางกาย



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพและค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงด้านสมรรถภาพทางกาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการปฏิบัติเพื่อให้เกิดสุขภาพกายแข็งแรง เจริญเติบโตปราศจากโรคภัย ไข้ เจ็บและสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ กาส่งเสริมสุขภาพหรือการสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการที่มี ลักษณะดังนี้ คือ เน้นกิจกรรมที่มุ่งสร้างสมรรถนะของการสร้างสุขภาพดีควบคุมปัจจัยเสี่ยงและเป็นกระบวนการ ที่มุ่ง ดำเนินการกันทั้งบุคคลและสังคม เน้นกระบวนการส่งเสริมให้ประชาชนเพิ่มสมรรถนะในการควบคุมดูแลและพัฒนาสุขภาพ ของตนเอง เราทุกคนล้วนแต่ต้องการมีสุขภาพที่ดีสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ แต่ก็อาจจะต้องเผชิญกับภาวะเจ็บ ไข้ได้ป่วย ไม่ว่าจะเนื่องมาจากอายุที่มากขึ้นจนทำให้ร่างกายเสื่อมถอยลงตามวัยหรือสภาพสังคมแวดล้อม ที่อาจจะทำให้ คนเรามีพฤติกรรมเสี่ยงทั้งโดยตั้งใจหรือไม่รู้ตัวก็ตาม การตรวจคัดกรองสุขภาพจึงเป็นเรื่องจำเป็นเพราะทำให้เราได้รู้ถึง สถานการณ์ทางสุขภาพที่เป็นอยู่ ซึ่งโดยหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมนั้น แพทย์จะแนะนำให้ตรวจสม่ำเสมอเป็นประจำหรืออย่าง น้อยทุก 3 ปี ในบางกรณีแพทย์จะทำการซักประวัติ ตรวจร่างกายและอาจมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือหาปัจจัยเสี่ยง ต่อโรคต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูงหรืออาจจะตรวจหาโรคมะเร็งที่พบบ่อย ได้แก่ มะเร็งลำไส้ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และในปัจจุบันยังมีตรวจการโดยการใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์การ กีฬา เช่น การตรวจคัดกรองเพื่อประเมินกำลังขา กำลังแขน กำลังปอดและความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ เพื่อประเมินความ เสี่ยงการเกิดโรค วิทยาคาสตร์การกีฬา (Sport Science) เป็นศาสตร์ที่ว่าตัวความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าถึงผลของการมีส่วน ร่วมในการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกายในกิจกรรมต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคเฉพาะ ทาง เพื่อพัฒนาศักยภาพร่างกายของนักกีฬา ให้สามารถเล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยหลักวิชาทางด้าน สรีรวิทยา จิตวิทยา สังคมวิทยา นอกเหนือจากการฝึกซ้อมนักกีฬาให้มีศักยภาพในการแข่งขั้นแล้ว ยังมีเรื่อง จิตวิทยา โภชนาการ การรักษาฟื้นฟูด้วยการบริหารกล้ามเนื้อ การออกแบบโปรแกรมการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพการ ทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด การบริหารกล้ามเนื้อที่เหมาะสมกับผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วย หรือบกพร่องของ ระบบกระดูก กล้ามเนื้อหรือที่มีความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว ให้คำแนะนำการบริหารกล้ามเนื้อ ยืดเหยียด กล้ามเนื้อ เพิ่มสมรรถภาพร่างกายแก่ผู้ที่มาใช้บริการอุปกรณ์การออกกำลังกายหรืออุปกรณ์ช่วยพยุงตัวได้อย่าง เหมาะสม ศึกษาสังเกตอาการของนักกีฬาหรือผู้ป่วยเพื่อดำเนินการรักษาฟื้นฟู สำคัญที่สุด คือการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงของ การเกิดโรคภัยต่างๆ เพื่อการวางแผนการป้องกันและการรักษาได้อย่างถูกวิธีต่อไป ดังนั้น ฝ่ายบริการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ได้เล็งเห็นความสุขของการคัดกรองสุขภาพและการประเมิน สมรรถภาพร่างกายด้วยหลักวิทยาศาสตร์การกีฬา จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการดูแลสุขภาพและการ ได้รับบริการเพื่อให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพของตนเอง
  2. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงให้ประชาชนทราบปัจจัยเสี่ยงในการที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ความสนไจและทราบถึงประโยชน์ในการออกลดความเสี่ยงการโรคและการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสมรรถภาพทางกายและมรสุขภาพจิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ออกกำลังกาย

วันที่ 5 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนวิทยากร  6 คน ๆ ละ 600 บาท จำนวน 7 วัน  เป็นเงิน 25,200 บาท
  • ค่าเสี้อโยคะ 14 ผืนๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
  • ค่าไวนิลพร้อมขาตั้ง x-Stand จำนวน 6 ชุดๆ 1,800 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท                                                     รวมเป็นเงิน 43,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น

 

700 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง
0.00

 

2 เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงให้ประชาชนทราบปัจจัยเสี่ยงในการที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ กลุ่มเป้าหมายทราบถึงความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงในการที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงให้ประชาชนทราบปัจจัยเสี่ยงในการที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเองและครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพและค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงด้านสมรรถภาพทางกาย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ฝ่ายบริการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด