มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
สมาคมเภสัชและอายุเวชแผนไทยโบราณจังหวัดสงขลา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
ตุลาคม 2562
ชื่อโครงการ มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 163,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวเข้าสู่การมีสุขภาพดีคือการส่งเสริมสุขภาพโดยในโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพตัวหน้าช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภทเพื่อให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. 2540 มาตรา 52 กำหนดไว้ว่าคนไทยทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการรับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ด้อยโอกาสมีสิทธิ์ที่จะได้รับบริการทางการแพทย์โดยไม่คิดมูลราคาที่จัดโดยรัฐอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชน ซึ่งเป็นการสร้าง
หลักประกันด้านสุขภาพแก่ประชาชนไทยทุกคน
การส่งเสริมสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่จะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้
บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคเครียด คำว่าสุขภาพในความหมายของคนทั่วไปกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษา ทำให้ต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายมาก แต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่าที่ควรเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บปวดและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็
มีความซับซ้อนมากขึ้น ถึงเลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการส่งเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน เป็นการส่งแสริมสุขภาพโดยเน้นให้ประชาชนมีการดูแล
สุขภาพแบบองค์รวม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และสังคม ส่งเสริมให้เครือข่ายรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพใน
รูปแบบของมหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน เพื่อเป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านสู่ประชาชน เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่ายๆด้วย
ต้นทุนต่ำป้องกันโรคต่างๆ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ
ขณะเดียวกันก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพลงไปในตัวด้วยเช่นกัน
ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย นักวิชาการ หมอพื้นบ้าน ชุมชน ในการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ สมาคมเภสัชและอายุรเวชแผนโบราณ จึงได้จัดทำโครงการ "มหกรรมส่งเสริม
สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน" เพื่อให้ประขาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้ วิธีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์พื้นบน สามารนำความรู้ที่ไปใช้ประโยชน์ชีวิตประจำวันเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็ง
- เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย
- เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภพด้วยการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์พื้นบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ทำให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็งมากขึ้น
๒ ทำให้เจ้าหน้าที่และประชาชนมีความรู้มากขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และภูปัญญาท้องถิ่น
๓ ประชาชนและผู้ที่สนใจได้รับความรู้จากการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
๔. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
วันที่ 1 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
เพือให้ประชาชนได้มีความรู้เกรียวกับแพทย์แผนไทยพื้นบ้าน
ด้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
0
0
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
วันที่ 1 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
เพือให้ประชาชนได้มีความรู้เกรียวกับแพทย์แผนไทยพื้นบ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายการทำงานด้นการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่เพิ่มขึ้น
0.00
2
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นและนำมาพัฒนางานด้นการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
0.00
3
เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภพด้วยการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์พื้นบ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ประชาชนและผู้สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็ง (2) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย (3) เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภพด้วยการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์พื้นบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( สมาคมเภสัชและอายุเวชแผนไทยโบราณจังหวัดสงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
สมาคมเภสัชและอายุเวชแผนไทยโบราณจังหวัดสงขลา
ตุลาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 163,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวเข้าสู่การมีสุขภาพดีคือการส่งเสริมสุขภาพโดยในโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพตัวหน้าช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภทเพื่อให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. 2540 มาตรา 52 กำหนดไว้ว่าคนไทยทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการรับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ด้อยโอกาสมีสิทธิ์ที่จะได้รับบริการทางการแพทย์โดยไม่คิดมูลราคาที่จัดโดยรัฐอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชน ซึ่งเป็นการสร้าง หลักประกันด้านสุขภาพแก่ประชาชนไทยทุกคน การส่งเสริมสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่จะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้ บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคเครียด คำว่าสุขภาพในความหมายของคนทั่วไปกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษา ทำให้ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายมาก แต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่าที่ควรเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บปวดและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็ มีความซับซ้อนมากขึ้น ถึงเลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน เป็นการส่งแสริมสุขภาพโดยเน้นให้ประชาชนมีการดูแล สุขภาพแบบองค์รวม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และสังคม ส่งเสริมให้เครือข่ายรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพใน รูปแบบของมหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน เพื่อเป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านสู่ประชาชน เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่ายๆด้วย ต้นทุนต่ำป้องกันโรคต่างๆ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ ขณะเดียวกันก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพลงไปในตัวด้วยเช่นกัน ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย นักวิชาการ หมอพื้นบ้าน ชุมชน ในการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ สมาคมเภสัชและอายุรเวชแผนโบราณ จึงได้จัดทำโครงการ "มหกรรมส่งเสริม สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน" เพื่อให้ประขาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้ วิธีการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์พื้นบน สามารนำความรู้ที่ไปใช้ประโยชน์ชีวิตประจำวันเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็ง
- เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย
- เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภพด้วยการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์พื้นบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ทำให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็งมากขึ้น
๒ ทำให้เจ้าหน้าที่และประชาชนมีความรู้มากขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และภูปัญญาท้องถิ่น
๓ ประชาชนและผู้ที่สนใจได้รับความรู้จากการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
๔. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำเพือให้ประชาชนได้มีความรู้เกรียวกับแพทย์แผนไทยพื้นบ้าน ด้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำเพือให้ประชาชนได้มีความรู้เกรียวกับแพทย์แผนไทยพื้นบ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็ง ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายการทำงานด้นการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่เพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นและนำมาพัฒนางานด้นการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภพด้วยการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์พื้นบ้าน ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ประชาชนและผู้สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายการทำงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความเข้มแข็ง (2) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย (3) เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภพด้วยการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์พื้นบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
มหกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( สมาคมเภสัชและอายุเวชแผนไทยโบราณจังหวัดสงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......