กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ บริการสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเชิงรุกหาดใหญ่ชีวาสุข ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล

ชื่อโครงการ บริการสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเชิงรุกหาดใหญ่ชีวาสุข

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"บริการสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเชิงรุกหาดใหญ่ชีวาสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บริการสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเชิงรุกหาดใหญ่ชีวาสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " บริการสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเชิงรุกหาดใหญ่ชีวาสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาชารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขว้างว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริม ให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเบาหวาน โรคควานดันโลหิต สูงโรคเครียดและโรคมะเร็ง สาเหตุที่พบอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจาก กระบวนการสร้างสุขภาพ ไม่เพียงแต่จะเป็น กระบวนการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้การศึกษาดานสุขภาพเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ เกิดผลในการปฏิบัติและสภาพการณ์ของการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม บรรทัดฐานทางสังคม สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจซึ่งก็คือวิถีการดำเนินชีวิตซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ของบุคลและชุมชนนั้นเอง แม้ระบบ สุขภาพของคนไทยที่ผ่านมาจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนส่งผลให้สุขภาพของประชาชนในภาพรวมตีขึ้นและระบบบริการ สุขภาพจะมีความก้าวหน้ามากขึ้นแต่ยังมุ่งที่การจัดบริการเพื่อการรักษาพยาบาลเป็นหลัก คำว่าสุขภาพในความหมายของคน ทั่วไปกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษา ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก แต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่า ที่ควรเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากขึ้น ดังนั้นการแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการและองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการ สร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง บริโภค อาหารที่สุก สะอาดปลอดภัย ไม่ติดยาเสพติด ส่งเสริมให้ประชาชนในแต่ละชุมชนรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปของ ขมรมสร้างสุขภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ชมรมสร้างสุขภาพเป็นศูนย์กลางและเป็นกลไก ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพ สู่ประชาชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดี เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่าย ๆ ด้วยต้นทุนต่ำป้องกันโรค ต่าง ๆ อาทิ โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ลๆ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมี สมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ ขณะเดียวกันก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพลงไปในตัวด้วย หลักสำคัญใน การดูแลสุขภาพเพื่อก้าวสู่ การมีสุขภาพดีคือการให้ความรู้ทางด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การดูแล สุขภาพจิต และลดพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ จะช่วยป้องกันโรคที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ให้ถูกชนิด ปริมาณและถูกเวลา ควรเลือกกินอาหารให้ครบ ๕ หมู่ให้หลากหลายและพอเพียง งดอาหารหวาน มัน เค็ม ดูแล น้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จากนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรคมีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ในระยะยาว ได้ขยาย ขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข สำนักการสธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนคหาดใหญ่ เป็นศูนย์บริการ สาธารณสุขที่มุ่งเนันการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพ การรักษาสุขภาพของผู้ป่วย ผู้สูงอายุ และบุคคลทั่วไป ให้บริการ ประชาชนด้วยบริการสุขภาพแบบผสมผสาน รวบร่วมองค์ความรู้ นวัตกรรมทางด้านสุขภาพ ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ซึ่ง ให้บริการด้านแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกโดยทีมสหวิชาชีพต่างๆ อาทิเช่น แพทย์แผนไทย นักกายภาพบำบัด นัก พัฒนาการกีฬาและ นักโภชนาการ ศูนย์หาดใหญ่ชีวาสุขได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ จึงได้งัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาขนสามารดูแลสุขภาพและเยี่ยวยาตนเองได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์ พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
  2. เพื่อให้ประขาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ครุภัณฑ์เครื่องเสียง
  2. สาธิตบำบัดการรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน
  3. โภชนาการ
  4. แพทย์ทางเลือก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนและผู้ที่สนใจได้รับความรู้จากการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและแพทย์ทางเลือกสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และสังคม
  3. ประชาชนให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ครุภัณฑ์เครื่องเสียง

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาร้านขายเครื่องเสียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องเสียง จำนวน 1 เครื่อง

 

0 0

2. สาธิตบำบัดการรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน

วันที่ 5 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

-กิจกรรมนวดแผนไทย -กิจกรรมพอกเข่า -กิจกรรมตอกเส้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กิจกรรมนวดแผนไทย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน 220 คน -กิจกรรมพอกเข่า      มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน 307 คน -กิจกรรมตอกเส้น      มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน 112 คน

 

600 0

3. โภชนาการ

วันที่ 6 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

-กิจกรรมสาธิตและบรรยายวิสาหกิจชุมชน -กิจกรรมสาธิตผงน้ำเคยทรงเครื่อง -กิจกรรมสาธิตการทำน้ำผลไม้สดเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กิจกรรมสาธิตและบรรยายวิสาหกิจชุมชน      มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 217 คน -กิจกรรมสาธิตผงน้ำเคยทรงเครื่อง                มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 295 คน -กิจกรรมสาธิตการทำน้ำผลไม้สดเพื่อสุขภาพ  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 814 คน

 

1,200 0

4. แพทย์ทางเลือก

วันที่ 7 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-กิจกรรมฝังเข็ม -กิจกรรมครอบแก้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กิจกรรมฝังเข็ม      มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 63 คน -กิจกรรมครอบแก้ว  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 29 คน

 

92 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์ พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
0.00

 

2 เพื่อให้ประขาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ประชาชนและผู้สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและแพทย์ทางเลือก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์ พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ (2) เพื่อให้ประขาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ครุภัณฑ์เครื่องเสียง (2) สาธิตบำบัดการรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน (3) โภชนาการ (4) แพทย์ทางเลือก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


บริการสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเชิงรุกหาดใหญ่ชีวาสุข จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด