กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการพัฒนากลไกและนโยบายการส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพโดยฐานท้องถิ่น สำหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ

ลงพี้นที่ร่วมเวทีถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบระดับกลุ่มจังหวัดยะลา20 ตุลาคม 2563
20
ตุลาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย คณิชญา แซนโทส
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑.ส้ารวจข้อมูลกลุ่มแรงงานนอกระบบของกลุ่มรับซื้อน้้ายาง “ศิลานารี”ตามแบบเก็บ ข้อมูลความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและความรอบรู้ด้านอาชีวอนามัย

๒.อบรมให้ความรู้เครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัยชุมชน(อสอช.) ๒๐คน จ้านวน๑ครั้ง

๓.อบรมให้ความรู้สมาชิกกลุ่มรับซื้อน้้ายาง “ศิลานารี”และบุคคลทั่วไปในพื้นที่ต้าบลบาละ ๕๐คน จ้านวน๑ครั้ง

๔.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพของกลุ่มรับซื้อน้้ายาง “ศิลานารี”และบุคคลทั่วไปในพื้นที่ต้าบลบาละ ๕๐คน จ้านวน๒ครั้ง

๕.จัดบริการและประเมินตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพของกลุ่มรับซื้อน้้ายาง “ศิลานารี” และบุคคลทั่วไปในพื้นที่ต้าบลบาละ ๕๐คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

..การถอดบทเรียนแนวทางพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการส่งเสริมความรู้และการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรค จากการประกอบอาชีพของกลุ่มรับซื้อน้้ายาง“ศิลานารี” ต้าบลบาละ อ้าเภอกาบัง จังหวัดยะลา ใช้หลักการ ประเมินตามแนวคิด CIPP Model (CIPP) เป็นพื้นฐานการถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรู้ โดย ก้าหนดเป็นกรอบการถอดบทเรียน ประกอบด้วยประเด็นต่าง ๆ ซึ่งจะน้าเสนอผลการถอดบทเรียนดังนี้ ๑. บริบท (Context) ต้าบลบาละ ตั้งอยู่ในเขตอ้าเภอกาบัง จังหวัดยะลา สภาพสังคมมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท มีเนื้อที่ ทั้งหมดจ้านวน ๒๑๐,๑๔๐ ไร่ หรือ๓๕๖ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา ด้านทิศเหนือติดกับ ต้าบลกาบัง อ้าเภอกาบัง จังหวัดยะลา ด้านทิศใต้ติดกับรัฐเคด้า ประเทศมาเลเซีย ด้านทิศตะวันออกติดกับ ต้าบลปะแต อ้าเภอยะหา จังหวัดยะลา ด้านทิศตะวันตกติดกับต้าบลบาโหย อ้าเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ด้านภูมิอากาศจะมี ๒ ฤดู คือ ฤดูร้อน และ ฤดูฝน มีจ้านวนประชากร ๗,๕๕๒ คน ชาย ๓,๙๙๕ คน หญิง ๓,๕๙๐ คน มีจ้านวนครัวเรือน ๒,๓๘๗ ครัวเรือน จ้านวน๑๑ หมู่บ้าน ประชากรมีการนับถือศาสนา พุทธคิดเป็นร้อยละ ๔๐ นับถือศาสนาอิสลามคิดเป็นร้อยละ ๖๐ (องค์การบริหารส่วนต้าบลบาละ.ออนไลน์ ๒๕๕๗: https://www.bala.go.th/index.php.23พศจิกายน๒๕๖๓) กลุ่ม“ศิลานารี”เป็นการรวมตัวกันของแกนน้าชุมชนบ้านคชศิลา หมู่๔ต้าบลบาละ อ้าเภอกาบัง จังหวัดยะลา ในการท้ากิจกรรมกลุ่มรับซื้อน้้ายางสด ก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ.๒๕๕๘ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.) จ้านวน๑.๒ล้านบาท และการยางแห่งประเทศไทย สาขายะหา จังหวัดยะลา เข้ามา ส่งเสริมความรู้ และการเข้าถึงสิทธิ์ โดยกลุ่มรับซื้อน้้ายาง“ศิลานารี” มีเป้าหมายในการพัฒนาอาชีพ การ สร้างงาน สร้างรายได้แก้ไขปัญหาด้านราคาของผลผลิต การเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง มีสมาชิกจ้านวน ๔๐ราย สมาชิกมีการลงหุ้นๆละ๑๐๐ บาท ไม่เกิน๓,๐๐๐บาท มีการปันผลก้าไรตามไตรมาตรปีละ๒ครั้ง คืน ก้าไรสู่สมาชิก ๑๐% กลุ่มมีการรับซื้อน้้ายางสดจากสมาชิกและบุคคลทั่วไปในพื้นที่ต้าบลบาละ โดยเน้น ราคาที่เป็นธรรมและการด้าเนินกิจกรรมอื่นๆที่เป็นประโยชน์ให้กับคนในชุมชน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้าน ส่งเสริมอาชีพ ด้านยาเสพติด ด้านเด็ก เยาวชน และครอบครัว ตลอดจนด้านสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ต้าบลบาละ ร้อยละ๙๐ ประกอบอาชีพสวนยางพารา เนื่องจากพื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบเชิงเขา อากาศเย็นสบาย มีความเหมาะสมในการปลูกยางพารา และอาชีพการท้าสวนยางพาราก็มีการถ่ายทอดมา จากบรรพบุรุษ ผู้ประกอบอาชีพท้าสวนยางพารามีความเสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ การถูกสัตว์มีพิษกัดต่อย ในขณะท้างาน และการท้างานด้วยท่าทางที่ไม่เหมาะสมในการกรีดยางพารา จากการประเมินความเสี่ยงต่อ ๑๐ สุขภาพการท้างานของผู้ประกอบอาชีพท้าสวนยางพาราพบว่า ๑) ความเสี่ยงด้านชีวภาพ โดยพบความเสี่ยง จากตะขาบและแมงป่องในระดับปานกลางร้อยละ ๑๔.๙ ความเสี่ยงจากการถูกยุงกัดร้อยละ ๒๓.๗ นอกจากนี้ยังพบว่า ๒) ความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ โดยพบว่ามีการลุกนั่งสลับกันเป็นเวลานานในระดับสูง ร้อยละ ๗๑.๑ ก้มเงยหลังและศีรษะ ในระดับสูงร้อยละ ๕๗.๙ (สุดาพร วงษ์พล และอุไรวรรณ อินทร์ม่วง, ๒๕๕๕) ผู้ประกอบอาชีพท้าสวนยางพาราต้องตื่นกรีดยางพาราในเวลาเที่ยงคืน บางรายเริ่มกรีดตั้งแต่ ๒๓.๐๐ น. โดยเฉพาะช่วงที่อากาศหนาวที่สุด เป็นช่วงที่น้้ายางออกมากที่สุด เกษตรกรต้องอดทน อดหลับ อดนอน นอนไม่เป็นเวลา ท้าให้ร่างกายพักผ่อนไม่เพียงพอและยังส่งผลต่อสุขภาพจิตของเกษตรกรได้อีกด้วย (แววสุดา หนูอุไร, ๒๕๔๒; สุนันทา พรหมมัญ, ๒๕๓๙) ๓) ความเสี่ยงด้านอุบัติเหตุ เช่น การลื่นล้ม ตกจากที่ สูง(เนินเขา) ในช่วงที่ต้องน้าน้้ายางลงมาด้านล่าง (พื้นที่ราบ) เนื่องจากพื้นที่สวนยางพารามีลักษณะเป็นเนิน เขา (ควน) ผู้ประกอบอาชีพสวนยางบางรายต้องแบกแกลลอนน้้ายางหรือบางรายใช้เชือกผูกและโรย แกลลอนน้้ายางลงมา แทนการแบกห้าม โครงการส่งเสริมความรู้ และการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพของกลุ่มรับซื้อ น้้ายาง“ศิลานารี” บ้านคชศิลา หมู่๔ ต้าบลบาละ อ้าเภอกาบัง จังหวัดยะลา ซึ่งได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพต้าบลบาละ เมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม๒๕๖๒ งบประมาณ ๒๕,๔๕๐ บาท ระยะเวลาในการด้าเนินการระหว่างวันที่ ๑มกราคม๒๕๖๓ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพสวนยางพารา ในกลุ่มสมาชิก “ศิลานารี” การให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัย และประเด็นแรงงานนอกระบบ คือใคร หรือคนกลุ่มไหน และ การเข้าถึงสิทธิ์ ให้กับสมาชิกกลุ่มและบุคคลทั่วไปได้รับรู้ข้อมูล ตลอดจนสมาชิกกลุ่มสามารถวิเคราะห์ความ เสี่ยงจากการท้างาน (กรีดยาง) เพื่อน้าไปสู่การออกแบบกิจกรรมลดเสี่ยงในระดับตนเองและของกลุ่ม“ศิลา นารี” ๒.กลไกและทรัพยากรสนับสนุน (Input) ๒.๑ กลไกการท้างาน ๒.๑.๑ กลไกคณะท้างานระดับเขต กลไกคณะท้างานระดับเขต คือ ทีมหรือคณะท้างานบริหารจัดการโครงการพัฒนากลไกและนโยบาย การส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพโดยฐานท้องถิ่นส้าหรับกลุ่มแรงงานนอกระบบ เขต ๑๒สงขลา (core team) ผู้ประสานงานกองทุนสุขภาพต้าบล สปสช.เขต ๑๒ สงขลา และนักวิชาการ สถาบันการศึกษา ซึ่งท้าหน้าที่ ๑) วางแผนและออกแบบกลยุทธในการท้างาน ก้ากับติดตาม และการสนับสนุนวิชาการ แผน ปฎิบัติการ/ Roadmap ๒)พัฒนาศักยภาพคณะท้างานระดับจังหวัด(พี่เลี้ยง) เพื่อให้เป็นกลไกขับเคลื่อนการ จัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุก ๓) สังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ความเสี่ยง และความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อ สนับสนุนกระบวนการท้างานและการติดตามประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ ๓) อ้านวยกระบวนการติดตาม ประเมินผลภายในและกระบวนการเรียนรู้เพื่อการถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบ-นวตกรรมและข้อเสนอนโยบาย
๑๑ ๔) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการสนับสนุนด้านนโยบายและวิชาการให้กับ คณะท้างานระดับจังหวัด/พื้นที่ ๕) วิเคราะห์ประมวลผลการด้าเนินงานภาพรวมตาม Roadmap ๒.๑.๒ กลไกคณะท้างานระดับจังหวัด กลไกคณะท้างานระดับจังหวัด คือ ตัวแทนพี่เลี้ยงในพื้นที่จังหวัดยะลา จ้านวน ๑๖คน ประกอบด้วย บุคคลากรสาธารณสุข (รพ.สต.) และนักวิชาการสาธารณสุขจังหวัดยะลา(สสจ.)จ้านวน ๖คน ตัวแทนอปท. ในพื้นที่ จ้านวน ๕ คน และภาคประชาชน จ้านวน๔คน มีการเพิ่มศักยภาพในการ coaching เพื่อสนับสนุน การจัดท้าแผน (แรงงานนอกระบบ) การพัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพตามหลักออตตาวาซาเตอร์และ การใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการให้สอดคล้องกับแผนการสร้างเสริมสุขภาวะของสสส. สปสช. และสธ.ภายใต้ระเบียบของกองทุน ฯ แต่เนื่องจากโครงสร้างการท้างานในรูปแบบแนวดิ่ง ขาดการ ประสานงานภายในระดับจังหวัดซึ่งเป็นปัจจัยเชิงลบท้าให้กลไกคณะท้างานทั้งหมดไม่สามารถท้างานได้อย่าง เต็มที่ มีเพียงคณะท้างานบางส่วนที่สามารถท้างานได้ ๒.๑.๓.กลไกคณะท้างานระดับพื้นที่ คณะท้างานระดับพื้นที่ คือ คณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ ผลักดันให้เกิด การจัดท้าแผน(แรงงานนอกระบบ) และอนุมัติโครงการส่งเสริมความรู้ และการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรค จากการประกอบอาชีพของกลุ่มรับซื้อน้้ายาง“ศิลานารี” บ้านคชศิลา หมู่๔ ต้าบลบาละ อ้าเภอกาบัง จังหวัด ยะลา โดยมีนางวิลัยพร จ้ารูญศรีเป็นผู้เสนอโครงการฯขอรับทุนเพื่อด้าเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพกลุ่มรับซื้อน้้ายาง“ศิลานารี” จ้านวน๔๐คนและประชาชนทั่วไปในพื้นที่ต้าบลบา ละ ๒.๑.๔.กลไกอาสาสมัครอาชีวอนามัย อาสาสมัครอาชีวอนามัย ประกอบด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจ้าหมู่บ้าน (อสม.) ตัวแทนแกนน้า กลุ่มอาชีพ/กลุ่มรับซื้อน้้ายาง“ศิลานารี” จ้านวน5คน เป็นตัวแทนเข้าร่วมพัฒนาศักยภาพด้านอาชีวอนามัย โดยคณะท้างานระดับเขตร่วมกับคณะท้างานระดับจังหวัด(พี่เลี้ยง)จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ อสอช.ในระดับ กลุ่มจังหวัดยะลา มีการด้าเนินการระหว่างวันที่๑๒กรกฎาคม๒๕๖๓ ณ ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานภาคใต้ จังหวัดยะลา โดยอาสาสมัครอาชีวอนามัยที่เป็นแกนน้า สามารถขับเคลื่อนงานและสร้างทีมในระดับพื้นที่ กลุ่ม“ศิลานารี” มีการบูรณาการการท้างานร่วมท้องถิ่น (อปท) อสอช.สามารถวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการ ท้างาน (JSA: Job Safety Analysis) การวางแผนลดเสี่ยงและปฎิบัติการจัดการความเสี่ยงในขั้นตอนการ ท้างานและการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาขีพ สามารถเป็น ต้นแบบขยายผลในเชิงพื้นที่ และเชิงนโยบายการท้างานด้านแรงงานนอกระบบ ๒.๒ กองทุนหลักประกันสุขภาพต้าบลบาละ อ้าเภอกาบัง จังหวัดยะลา กองทุนหลักประกันสุขภาพต้าบลบาละ อ้าเภอกาบัง จังหวัดยะลา ซึ่งบริหารจัดการโดยคณะ กรรมการบริหารกองทุน ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนต้าบลบาละ ผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่ สมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนต้าบลบาละ ผู้อ้านวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบล อาสาสมัครสาธารณสุข ๑๒ ประจ้าหมู่บ้าน ผู้แทนหมู่บ้านหรือชุมชน ผู้แทนศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพหรือ ปลัดองค์การ บริหารส่วนต้าบลบาละ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานสาธารณสุขขององค์การบริหารส่วนต้าบลบาละ หรือผู้ ที่ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพต้าบลบาละ มีอ้านาจหน้าที่ในการพิจารณาอนุมัติ แผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯในด้านการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู และรักษา โดยคณะกรรมการบริหารมีมติพิจารณาอนุมัติแผนงานแรงงานนอกระบบ และได้พิจารณาอนุมัติ โครงการส่งเสริมความรู้ และการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพของกลุ่มรับซื้อน้้ายาง “ศิลานารี”งบประมาณรวม ๒๕,๔๕๐บาท ๒.๓ แผนการด้าเนินการและงบประมาณ โครงการส่งเสริมความรู้ และการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพของกลุ่มรับซื้อ น้้ายาง“ศิลานารี”ได้รับการอนุมัติงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพต้าบลบาละ เมื่อวันที่ วันที่ ๒๔ ธันวาคม๒๕๖๒ เป็นจ้านวนเงินรวม ๒๕,๔๕๐บาท มีระยะเวลาในการด้าเนินการระหว่างวันที่ ๑ มกราคม๒๕๖๓ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ระยะเวลารวม ๙ เดือน โ