กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคืนข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชน
รหัสโครงการ 62-L2514-1-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ
วันที่อนุมัติ 29 สิงหาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2562 - 31 ธันวาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2562
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเปายี เจะสือแต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.343,101.59place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2562 31 ธ.ค. 2562 10,000.00
รวมงบประมาณ 10,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรับรู้ปัญหาด้านสุขภาพของชุมชน

จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90

90.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและองค์กรชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชนได้

ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘0 ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ ร้อยละ 90

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ขั้นวางแผน(Plan) 1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ 2.เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 3.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบงาน 4.ประชุม/ประสานแกนนำสุขภาพ เพื่อชี้แจงและปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการ     ขั้นดำเนินการ(Do) ๑. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคืนข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชน - สร้างเครือข่ายแกนนำสุขภาพโดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการสร้างสุขภาวะโดยการพี่งตนเอง ตามวิถีการดำเนินชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่น - ร่วมกันคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน/สถานบริการ - ร่วมกันเสนอแนะในการปัญหา และจัดการสุขภาพของตนเอง และชุมชน - จัดนิทรรศการให้ความรู้ด้านสุขภาพ - บริการคลินิกให้คำปรึกษา ๒. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพในแต่ละชุมชนและภาพรวม ๓. จัดทำแผนสุขภาพสุขภาพชุมชนและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพของตำบล
ขั้นตรวจสอบและประเมินผล(Check) ๑. ติดตามและประเมินผลจำนวนผู้เข้าร่วมประชุม ๒. ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมประชุม ๓. สรุปผลการดำเนินงาน ขั้นปรับปรุงและพัฒนา(Action) ๑. รายงานผลการดำเนินงาน ๒. ประชุมร่วมกันเพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ๓. ปรับปรุง/พัฒนาวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนและองค์กรในชุมชนร่วมรับทราบปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
๒. ประชาชนและและองค์กรในชุมชนสามารถสะท้อนปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้ ๓. สามารถกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำและร่วมแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ต่อไป ๔. ประชาชนมีการพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนมากขึ้น ๕. สามารถจัดทำแผนสาธารณสุขของชุมชนและตำบลโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ก.ย. 2562 10:37 น.