โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
( นางอภิชญา ชุมเปีย)ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-01-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 118,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หน่วยบริการปฐมภูมิศูนย์บริการสุขภาพชุมชนชลาทัศน์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.สงขลา เป็นหน่วยงานให้บริการสุขภาพชุมชน ๔ มิติ แบบองค์รวมในพื้นที่ 10 ชุมชนได้แก่ ชุมชนวิชราทะเลหลวงดอกรักษ์, ชุมชนวชิราซอยคี่, ชุมชนวชิราทะเลหลวง, ชุมชนวชิราซอยคู่, ชุมชนพิเศษทหารเรือ, ชุมชนพิเศษ ตชด., ชุมชนสนามบิน, ชุมชนบาลาเซาะห์, ชุมชนเก้าเส้ง และชุมชนหลังรพ.จิต รับผิดชอบประชากรจำนวน 10,657 คน จำนวน 3,713 หลังคาเรือน มีโรงเรียนในความรับผิดชอบ 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลสงขลา และโรงเรียนวชิรานุกูล ดูแลศูนย์เด็กเล็กก่อนวัยเรียน ๒ แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง และสถานรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย ทร.15 มีวัดรับผิดชอบจำนวน 2 วัด คือวัดแจ้ง มีพระ 18 รูป และวัดดอนรัก มีพระ 10 รูป รวมทั้ง 1 มัสยิดในชุมชนเก้าเส้ง
จากผลการทำประชาคมหมู่บ้านร่วมกับ อสม. ในเขตพื้นที่ เพื่อจัดทำแผนสุขภาพชุมชน พบประเด็นปัญหาของชุมชนดังนี้ ชุมชนวชิราทั้งหมด (ดอกรักษ์, คี่, ทะเลหลวง, คู่) มีปัญหาของการจราจร รถติด จอดรถไม่เป็นระเบียบทั้งในซอยและถนนหลักโดยเฉพาะในช่วงค่ำ มีสิ่งกีดขวางบนถนนในซอย, พบการฉกชิงวิ่งราวช่วงกลางคืน, มีการเสพและขายยาเสพติดตามบ้านเช่ามีการมั่วสุมยา ด้านสิ่งแวดล้อม มีขยะในคูน้ำสกปรก น้ำในคูไม่ไหลมีสิ่งปฏิกูลมากก, การจัดวางถังขยะเทศบาลมีจำนวนน้อยไม่เหมาะสม, มีหนูและแมลงสาปจำนวนมากมาถ่ายมูลในบ้าน ปัญหาการทำประชาคมหมู่บ้านในชุมชนพิเศษ ตชด. พบว่ามีลูกน้ำยุงลาย และมีขยะอุดในคูระบายน้ำตัน ปัญหาชุมชนเก้าเส้ง พบประเด็นหลักๆ ดังนี้ พบเด็ก0-6 ปี มีปัญหาโภชนาการบกพร่อง และปัญหาสุขภาพ(ฟันผุ/เหา) มีแผลพุพองตามผิวหนัง ส่วนปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมพบว่ามีขยะและสัตว์เลี้ยง เช่น แมว/หนู มาถ่ายมูล ปัญหาครอบครัว พ่อแม่ไม่สนใจเด็ก มัวแต่เล่นการพนัน, ผู้สูงอายุขาดการดูแล ยังต้องเป็นผู้ดูแลหลานเล็กๆ แทนพ่อแม่, เด็กวัยรุ่นท้องก่อนวัยอันควร, ชาวบ้านไม่สนใจสุขภาพตนเอง/คนในครอบครัว, วัยรุ่นลองยาเสพติด/หารายได้โดยการขายยาเสพติด มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชนมากที่ขาดการไปรับยาต่อเนื่อง ชุมชนพิเศษทหารเรือพบปัญหาการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ต้องการให้มีการแจกจ่ายทรายอะเบท และการขุดลอกคูน้ำ ปัญหาแฟลตทหารเรือ มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ต้องการให้รักษาต่อเนื่อง
จากปัญหาข้อมูลดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวที่จะดูแลส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเชิงรุกสู่ชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมทั่วถึงจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
- 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
- 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
- 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
170
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจประเมินคัดกรอง และมีความรู้ความเข้าใจป้องกันการเกิดโรค
- ลดผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
- ประชาชนกลุ่มป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมติดตามการดูแลสุขภาพ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
- ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลสภาพแวดล้อมลดการเกิดโรคติดต่อในชุมชน
- ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการใกล้บ้าน และมีสุขภาวะที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ จนท. อสม. แกนนำสุขภาพ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 110 x 25 x 4 ครั้ง เป็นเงิน 11,000 บาท
- ครั้งที่ 1/60 วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 2/60 วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 3/60 วันพฤหัสบดีที่ 20 กรกฎาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 4/60 วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
กิจกรรมที่ 2 คัดกรองสุขภาพ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา
กิจรรมที่ 2.1 คัดกรองสุขภาพ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 20 ครั้ง เป็นเงิน 25,000 บาท
- ค่าวัสดุเจาะเลือดเบาหวาน 1,000 ชุด x 10 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
- ได้ดำเนินการลงคัดกรองสุขภาพเบาหวาน/ความดันในชุมชน และให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคพร้อมแจกเอกสารใบความรู้ โดย จนท. และอสม ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย 1,000 คน ในระหว่างวันที่ 1 มิ.ย. – 6 ส.ค. 2560
กิจกรรมที่ 2.2 อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงรุกสู่ชุมชน (กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วยในคลินิก ป้องกันภาวะแทรกซ้อน) รวมจำนวน 2 รุ่น รายละเอียดดังนี้
- รุ่นที่ 1 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัด ชุมชนเก้าเส้ง
- รุ่นที่ 2 เมื่อวันอังคารที่ 8 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 2,500 บาท
- อาหารกลางวัน 50คน x 50 บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 2ชม. x 2รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าวัสดุเอกสารใบความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นเงิน 2,000 บาท
กิจกรรมที่ 3 กลุ่มสตรี และเด็กปฐมวัย
กิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมค้นหาและเยี่ยมดูแลสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ และกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-6 ปี
ในชุมชน ในเรื่องภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
- ค่าบริการค้นหาและเยี่ยมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ให้กับหญิงตั้งครรภ์ และเด็กอายุ 0-3 ปีที่มีปัญหาทางด้านโภชนาการ พัฒนาการ และการได้รับวัคซีน จำนวน 60 คน x 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ได้ดำเนินการค้นหาและเยี่ยมส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการ DSPM เชิงรุกที่บ้านในชุมชน ระหว่างวันที่ 1 ธ.ค.59 - 31 มิ.ย. 60 รายชื่อกลุ่มเป้าหมายและปัญหาที่พบแนบมาด้วยแล้ว
กิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมอบรมการส่งเสริมความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย 0-3 ปี/คลินิกสุขภาพเด็กดี (2 รุ่น)
- รุ่นที่ 1 ดำเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 คน x 25 บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 1,250 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน และเครื่องดื่ม 25 คน x 50 บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน x 600 บาท x 2 ชม. X 2 รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ สำหรับการจัดกิจกรรม เป็นเงิน 1,000 บาท
- สื่อส่งเสริมพัฒนาการประจำคลินิกสุขภาพเด็กดี เป็นเงิน 3,000 บาท
กิจกรรมที่ 4 หญิงอายุ 30-60 ปี ที่มารับตรวจ pap smear เชิงรุกในชุมชน จำนวน 100 คน
กิจกรรมที่ 4.1 กิจกรรมค้นหากลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองสุขภาพ และกิจรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูกและตรวจมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกสู่ชุมชน
- วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมสุขภาพสตรี 100 คน x100 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท (ไม่ได้ใช้งบประมาณ)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อสม./แกนนำสุขภาพ 100คน x 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
- ได้ดำเนินการคัดกรองสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูก กลุ่มเป้าหมาย 100 คน ในระหว่าง เดือน กรกฎาคม – สิงหาคม 2560 ดังนี้
o ครั้งที่ 1 ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์เด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง
จำนวน 22 คน
o ครั้งที่ 2 ในวันที่ 12 กรกฎาคม. 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนพิเศษทหารเรือ จำนวน 25 คน
o ครั้งที่ 3 ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศสมช. ชุมชนวิชราดอกรักษ์ จำนวน 10 คน
o ครั้งที่ 4 ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ คสมช. ชุมชนพิเศษ ตชด. จำนวน 29 คน
o ครั้งที่ 5 ในวันที่ 2 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศสมช. ชุมชนวชิราซอยคู่จำนวน 15 คน
กิจกรรมที่ 5 กลุ่มเสี่ยงสูง
กิจกรรมที่ 5.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่ ติดตาม 2-2-2 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย 50 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x 3 ครั้ง เป็นเงิน 3,750 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
กิจกรรมที่ 5.2 กิจกรรม DPAC ติดตามผลทุก 2 เดือน จำนวน 3 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย 30 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน x 25 บาท x 3 ครั้ง เป็นเงิน 2,250 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 เม.ย. 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
กิจกรรมที่ 6 กลุ่มป่วย
กิจกรรมที่ 6.1 กิจกรรม SHG ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20คน x 25บาท x 6ครั้ง เป็นเงิน 3,000 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 เวลา. 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศสมช. ชุมชนวชิราดอกรักษ์
- ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา. 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา. 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
-
กิจกรรมที่ 6.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 4 ครั้ง
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน x 25บาท x 4 ครั้ง เป็นเงิน 3,000 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2560 เวลา 8.00-12.00 น. จำนวน 40 คน ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
กิจกรรมที่ 7 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
กิจกรรมที่ 7.1 กิจกรรมติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 20คน x 25 บาท x 8 ครั้ง
- ได้ดำเนินการเยี่ยมติดตามผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 20 คน โดยเจ้าหน้าที่และอสม.ในชุมชน ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 30 สิงหาคม 2560 (แนบรายชื่อ อสม.ที่ติดตามเยี่ยม)
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการควบคุมป้องกันโรค สำหรับติดตามเยี่ยมผู้ป่วย
จำนวน 20 ราย X 200 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
กิจกรรมที่ 7.2 กิจกรรมอบรมฟื้นฟูแกนนำ อสม.เยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกสู่ชุมชน (รวม 7 PCU)
- จัดอบรมฟื้นฟูในวันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50คน x 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
- อาหารกลางวัน จำนวน 50คน x 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 2 ชม. เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์-เอกสาร เป็นเงิน 1,000 บาท
กิจกรรมที่ 8 กลุ่มผู้สูงอายุ ค่าจ้างสำรวจ และประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุกสู่ชุมชน จำนวน 300 คน
- ค่าจ้างสำรวจ และประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุกสู่ชุมชน 300 คน x 20 บาท
เป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าเอกสารสำรวจ จำนวน 300 X5 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ดำเนินการสำรวจ ระหว่างในดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2560 เวลา 9.00-11.00 น.
จำนวน 13 ครั้ง
กิจกรรมที่ 9 ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มอายุ 15 ปี และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป
- ค่าจ้างสำรวจและประเมินคุณภาพชีวิตในกลุ่มอายุ 15 ปี และ 60 ปี ขึ้นไป
จำนวน 120 คน X 20 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าเอกสารสำรวจ เป็นเงิน 1,000 บาท
- ลงประเมินคุณภาพชีวิตกลุ่มอายุ 15 ปี และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบประเมินเครื่องมือวัดคุณภาพชีวิต WHOQOL – BREF –THAI ขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทยโดยกรมอนามัยในการสำรวจคุณภาพชีวติ 4 ด้าน ใช้การสัมภาษณ์ในผู้สูงอายุ และรายงานผลคะแนนคุณภาพชีวิต ดังนี้
รายงานผลการสำรวจประเมินคุณภาพชีวิตในกลุ่ม 15 และ 60 ปี ขึ้นไป N=120 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
1.2 ร้อยละ 70 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์มาตรฐาน 5 ครั้ง
1.3 ร้อยละ 100 ของมารดาหลังคลอดและบุตรได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง
2
2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 0-6 ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
2.2 ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย
2.3 ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการได้รับการรักษาส่งต่อ
3
3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20
3.2 ค่าดัชนีลูกน้ำไม่เกินเกณฑ์ (HI
4
4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : 4.1 ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ
4.2 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4.3 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่า ร้อยละ 10
4.4 กลุ่มโรคเรื้อรังเบาหวานความดันที่รับการรักษาที่PCU ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคร้อยละ 90
4.5ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อน น้อยกว่าร้อยละ 5
4.6 ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้
4.7 ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
4.8 กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ(ด้อยโอกาส)ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพ ร้อยละ 80
5
ตัวชี้วัด : 5.1 ผู้สูงอายุได้รับการประเมิน ADL/พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ > ร้อยละ 90
5.2 ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงได้รับการเยี่ยมดูแล ตามเกณฑ์
6
ตัวชี้วัด : 5.3 ร้อยละ 100 ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด)ได้รับบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
590
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
170
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3) 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (4) 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (5) (6)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ( นางอภิชญา ชุมเปีย)ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
( นางอภิชญา ชุมเปีย)ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-01-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 118,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หน่วยบริการปฐมภูมิศูนย์บริการสุขภาพชุมชนชลาทัศน์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.สงขลา เป็นหน่วยงานให้บริการสุขภาพชุมชน ๔ มิติ แบบองค์รวมในพื้นที่ 10 ชุมชนได้แก่ ชุมชนวิชราทะเลหลวงดอกรักษ์, ชุมชนวชิราซอยคี่, ชุมชนวชิราทะเลหลวง, ชุมชนวชิราซอยคู่, ชุมชนพิเศษทหารเรือ, ชุมชนพิเศษ ตชด., ชุมชนสนามบิน, ชุมชนบาลาเซาะห์, ชุมชนเก้าเส้ง และชุมชนหลังรพ.จิต รับผิดชอบประชากรจำนวน 10,657 คน จำนวน 3,713 หลังคาเรือน มีโรงเรียนในความรับผิดชอบ 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลสงขลา และโรงเรียนวชิรานุกูล ดูแลศูนย์เด็กเล็กก่อนวัยเรียน ๒ แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง และสถานรับเลี้ยงเด็กปฐมวัย ทร.15 มีวัดรับผิดชอบจำนวน 2 วัด คือวัดแจ้ง มีพระ 18 รูป และวัดดอนรัก มีพระ 10 รูป รวมทั้ง 1 มัสยิดในชุมชนเก้าเส้ง จากผลการทำประชาคมหมู่บ้านร่วมกับ อสม. ในเขตพื้นที่ เพื่อจัดทำแผนสุขภาพชุมชน พบประเด็นปัญหาของชุมชนดังนี้ ชุมชนวชิราทั้งหมด (ดอกรักษ์, คี่, ทะเลหลวง, คู่) มีปัญหาของการจราจร รถติด จอดรถไม่เป็นระเบียบทั้งในซอยและถนนหลักโดยเฉพาะในช่วงค่ำ มีสิ่งกีดขวางบนถนนในซอย, พบการฉกชิงวิ่งราวช่วงกลางคืน, มีการเสพและขายยาเสพติดตามบ้านเช่ามีการมั่วสุมยา ด้านสิ่งแวดล้อม มีขยะในคูน้ำสกปรก น้ำในคูไม่ไหลมีสิ่งปฏิกูลมากก, การจัดวางถังขยะเทศบาลมีจำนวนน้อยไม่เหมาะสม, มีหนูและแมลงสาปจำนวนมากมาถ่ายมูลในบ้าน ปัญหาการทำประชาคมหมู่บ้านในชุมชนพิเศษ ตชด. พบว่ามีลูกน้ำยุงลาย และมีขยะอุดในคูระบายน้ำตัน ปัญหาชุมชนเก้าเส้ง พบประเด็นหลักๆ ดังนี้ พบเด็ก0-6 ปี มีปัญหาโภชนาการบกพร่อง และปัญหาสุขภาพ(ฟันผุ/เหา) มีแผลพุพองตามผิวหนัง ส่วนปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมพบว่ามีขยะและสัตว์เลี้ยง เช่น แมว/หนู มาถ่ายมูล ปัญหาครอบครัว พ่อแม่ไม่สนใจเด็ก มัวแต่เล่นการพนัน, ผู้สูงอายุขาดการดูแล ยังต้องเป็นผู้ดูแลหลานเล็กๆ แทนพ่อแม่, เด็กวัยรุ่นท้องก่อนวัยอันควร, ชาวบ้านไม่สนใจสุขภาพตนเอง/คนในครอบครัว, วัยรุ่นลองยาเสพติด/หารายได้โดยการขายยาเสพติด มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชนมากที่ขาดการไปรับยาต่อเนื่อง ชุมชนพิเศษทหารเรือพบปัญหาการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ต้องการให้มีการแจกจ่ายทรายอะเบท และการขุดลอกคูน้ำ ปัญหาแฟลตทหารเรือ มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ต้องการให้รักษาต่อเนื่อง จากปัญหาข้อมูลดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวที่จะดูแลส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเชิงรุกสู่ชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมทั่วถึงจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
- 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
- 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
- 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 300 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 170 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจประเมินคัดกรอง และมีความรู้ความเข้าใจป้องกันการเกิดโรค
- ลดผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่
- ประชาชนกลุ่มป่วยได้รับการตรวจเยี่ยมติดตามการดูแลสุขภาพ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
- ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลสภาพแวดล้อมลดการเกิดโรคติดต่อในชุมชน
- ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการใกล้บ้าน และมีสุขภาวะที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ จนท. อสม. แกนนำสุขภาพ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 110 x 25 x 4 ครั้ง เป็นเงิน 11,000 บาท
- ครั้งที่ 1/60 วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 2/60 วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 3/60 วันพฤหัสบดีที่ 20 กรกฎาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 4/60 วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
กิจกรรมที่ 2 คัดกรองสุขภาพ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา
กิจรรมที่ 2.1 คัดกรองสุขภาพ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 20 ครั้ง เป็นเงิน 25,000 บาท
- ค่าวัสดุเจาะเลือดเบาหวาน 1,000 ชุด x 10 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
- ได้ดำเนินการลงคัดกรองสุขภาพเบาหวาน/ความดันในชุมชน และให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคพร้อมแจกเอกสารใบความรู้ โดย จนท. และอสม ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย 1,000 คน ในระหว่างวันที่ 1 มิ.ย. – 6 ส.ค. 2560
กิจกรรมที่ 2.2 อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงรุกสู่ชุมชน (กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วยในคลินิก ป้องกันภาวะแทรกซ้อน) รวมจำนวน 2 รุ่น รายละเอียดดังนี้
- รุ่นที่ 1 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัด ชุมชนเก้าเส้ง
- รุ่นที่ 2 เมื่อวันอังคารที่ 8 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-15.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 2,500 บาท
- อาหารกลางวัน 50คน x 50 บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 2ชม. x 2รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าวัสดุเอกสารใบความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นเงิน 2,000 บาท
กิจกรรมที่ 3 กลุ่มสตรี และเด็กปฐมวัย
กิจกรรมที่ 3.1 กิจกรรมค้นหาและเยี่ยมดูแลสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ และกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-6 ปี
ในชุมชน ในเรื่องภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
- ค่าบริการค้นหาและเยี่ยมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ให้กับหญิงตั้งครรภ์ และเด็กอายุ 0-3 ปีที่มีปัญหาทางด้านโภชนาการ พัฒนาการ และการได้รับวัคซีน จำนวน 60 คน x 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ได้ดำเนินการค้นหาและเยี่ยมส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการ DSPM เชิงรุกที่บ้านในชุมชน ระหว่างวันที่ 1 ธ.ค.59 - 31 มิ.ย. 60 รายชื่อกลุ่มเป้าหมายและปัญหาที่พบแนบมาด้วยแล้ว
กิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรมอบรมการส่งเสริมความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย 0-3 ปี/คลินิกสุขภาพเด็กดี (2 รุ่น)
- รุ่นที่ 1 ดำเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 คน x 25 บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 1,250 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน และเครื่องดื่ม 25 คน x 50 บาท x 2 รุ่น เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน x 600 บาท x 2 ชม. X 2 รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ สำหรับการจัดกิจกรรม เป็นเงิน 1,000 บาท
- สื่อส่งเสริมพัฒนาการประจำคลินิกสุขภาพเด็กดี เป็นเงิน 3,000 บาท
กิจกรรมที่ 4 หญิงอายุ 30-60 ปี ที่มารับตรวจ pap smear เชิงรุกในชุมชน จำนวน 100 คน
กิจกรรมที่ 4.1 กิจกรรมค้นหากลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองสุขภาพ และกิจรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูกและตรวจมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกสู่ชุมชน
- วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมสุขภาพสตรี 100 คน x100 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท (ไม่ได้ใช้งบประมาณ)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อสม./แกนนำสุขภาพ 100คน x 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
- ได้ดำเนินการคัดกรองสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูก กลุ่มเป้าหมาย 100 คน ในระหว่าง เดือน กรกฎาคม – สิงหาคม 2560 ดังนี้
o ครั้งที่ 1 ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์เด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง
จำนวน 22 คน
o ครั้งที่ 2 ในวันที่ 12 กรกฎาคม. 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ชุมชนพิเศษทหารเรือ จำนวน 25 คน
o ครั้งที่ 3 ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศสมช. ชุมชนวิชราดอกรักษ์ จำนวน 10 คน
o ครั้งที่ 4 ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ คสมช. ชุมชนพิเศษ ตชด. จำนวน 29 คน
o ครั้งที่ 5 ในวันที่ 2 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศสมช. ชุมชนวชิราซอยคู่จำนวน 15 คน
กิจกรรมที่ 5 กลุ่มเสี่ยงสูง
กิจกรรมที่ 5.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่ ติดตาม 2-2-2 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย 50 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x 3 ครั้ง เป็นเงิน 3,750 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
กิจกรรมที่ 5.2 กิจกรรม DPAC ติดตามผลทุก 2 เดือน จำนวน 3 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย 30 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน x 25 บาท x 3 ครั้ง เป็นเงิน 2,250 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 เม.ย. 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
กิจกรรมที่ 6 กลุ่มป่วย
กิจกรรมที่ 6.1 กิจกรรม SHG ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20คน x 25บาท x 6ครั้ง เป็นเงิน 3,000 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 เวลา. 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศสมช. ชุมชนวชิราดอกรักษ์
- ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา. 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา. 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
-
กิจกรรมที่ 6.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 4 ครั้ง
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน x 25บาท x 4 ครั้ง เป็นเงิน 3,000 บาท
- ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2560 เวลา 8.00-12.00 น. จำนวน 40 คน ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
- ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560 เวลา 8.00-12.00 น. ณ ศูนย์จิตสังคมบำบัดฯ
กิจกรรมที่ 7 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
กิจกรรมที่ 7.1 กิจกรรมติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 20คน x 25 บาท x 8 ครั้ง
- ได้ดำเนินการเยี่ยมติดตามผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 20 คน โดยเจ้าหน้าที่และอสม.ในชุมชน ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 30 สิงหาคม 2560 (แนบรายชื่อ อสม.ที่ติดตามเยี่ยม)
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการควบคุมป้องกันโรค สำหรับติดตามเยี่ยมผู้ป่วย
จำนวน 20 ราย X 200 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
กิจกรรมที่ 7.2 กิจกรรมอบรมฟื้นฟูแกนนำ อสม.เยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกสู่ชุมชน (รวม 7 PCU)
- จัดอบรมฟื้นฟูในวันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม รพ.เมืองสงขลา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50คน x 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
- อาหารกลางวัน จำนวน 50คน x 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 2 ชม. เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์-เอกสาร เป็นเงิน 1,000 บาท
กิจกรรมที่ 8 กลุ่มผู้สูงอายุ ค่าจ้างสำรวจ และประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุกสู่ชุมชน จำนวน 300 คน
- ค่าจ้างสำรวจ และประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุกสู่ชุมชน 300 คน x 20 บาท
เป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าเอกสารสำรวจ จำนวน 300 X5 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ดำเนินการสำรวจ ระหว่างในดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2560 เวลา 9.00-11.00 น.
จำนวน 13 ครั้ง
กิจกรรมที่ 9 ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มอายุ 15 ปี และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป
- ค่าจ้างสำรวจและประเมินคุณภาพชีวิตในกลุ่มอายุ 15 ปี และ 60 ปี ขึ้นไป
จำนวน 120 คน X 20 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าเอกสารสำรวจ เป็นเงิน 1,000 บาท
- ลงประเมินคุณภาพชีวิตกลุ่มอายุ 15 ปี และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบประเมินเครื่องมือวัดคุณภาพชีวิต WHOQOL – BREF –THAI ขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทยโดยกรมอนามัยในการสำรวจคุณภาพชีวติ 4 ด้าน ใช้การสัมภาษณ์ในผู้สูงอายุ และรายงานผลคะแนนคุณภาพชีวิต ดังนี้
รายงานผลการสำรวจประเมินคุณภาพชีวิตในกลุ่ม 15 และ 60 ปี ขึ้นไป N=120 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 1.2 ร้อยละ 70 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์มาตรฐาน 5 ครั้ง 1.3 ร้อยละ 100 ของมารดาหลังคลอดและบุตรได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง |
|
|||
2 | 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตัวชี้วัด : 2.1 ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 0-6 ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2.2 ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย 2.3 ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการได้รับการรักษาส่งต่อ |
|
|||
3 | 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด : 3.1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 3.2 ค่าดัชนีลูกน้ำไม่เกินเกณฑ์ (HI |
|
|||
4 | 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด : 4.1 ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ 4.2 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.3 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 4.4 กลุ่มโรคเรื้อรังเบาหวานความดันที่รับการรักษาที่PCU ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคร้อยละ 90 4.5ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อน น้อยกว่าร้อยละ 5 4.6 ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ 4.7 ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 4.8 กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ(ด้อยโอกาส)ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพ ร้อยละ 80 |
|
|||
5 | ตัวชี้วัด : 5.1 ผู้สูงอายุได้รับการประเมิน ADL/พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ > ร้อยละ 90 5.2 ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงได้รับการเยี่ยมดูแล ตามเกณฑ์ |
|
|||
6 | ตัวชี้วัด : 5.3 ร้อยละ 100 ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด)ได้รับบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 590 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 170 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3) 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (4) 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (5) (6)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์บริการสุขภาพ ชุมชนชลาทัศน์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ( นางอภิชญา ชุมเปีย)ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......