กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ป้องกันสมาธิสั้น ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮัสหม๊ะ ลีแมะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ป้องกันสมาธิสั้น ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-3-00 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ป้องกันสมาธิสั้น ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ป้องกันสมาธิสั้น ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ป้องกันสมาธิสั้น ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2479-3-00 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์และปัญหาของเด็กและเยาวชนไทยขณะนี้กำลังเผชิญกับความเสี่ยงมากมายอันเกิดจากสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมอันตรายที่ล้อมรอบตัวเด็กแรงผลักดันที่ทำให้สังคมเปลี่ยนแปลงมาจากการพัฒนาด้านไอซีที ดิจิตอลต่างๆเช่นโทรศัพท์มือถืออินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์มีเด็กและเยาวชนใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเล่นเกมออนไลน์ แนวโน้มของการใช้โทรศัพท์มือถือ การเล่นเกมและการใช้อินเทอร์เน็ตเข้ามาแทนที่ในกิจกรรมต่างๆของเด็กยุคปัจจุบันทำให้เกิดช่องว่างระหว่างผู้ใหญ่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์กับเด็ก ปัจจุบันผู้ปกครองหลายคนประสบปัญหาลูกมีพฤติกรรมอารมณ์ก้าวร้าว อยู่ไม่นิ่ง สมาธิสั้น ติดโทรศัพท์มือถือ ติดเกมผู้ปกครองเด็กส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย เช่นรูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง และปล่อยให้พัฒนาการของเด็กเกิดขึ้นเองตามวัยแต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนากรเด็กแล้ว เช่นพันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดู โดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครองควรทำในชีวิตประจำวันของเด็ก รวมถึงการติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยไม่ว่าด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาเป็นสิ่งที่ผู้ปกครองจะละเลยไม่ได้ สิ่งต่างๆเหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมีคุณภาพต่อไป ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบูเก๊ะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ป้องกันสมาธิสั้น ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ขึ้น เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถดูแลบุตรหลานให้มีพัฒนาการสมวัย ป้องกัน/ลดภาวะสมาธิสั้นในเด็กได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ปกครองให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย และสามารถกระตุ้น ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ป้องกันการเกิดโรคสมาธิสั้น
  2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อร่วมค้นหาเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการไม่สมวัย เข้ารับการตรวจคัดกรอง รักษา และ/หรือส่งต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์
  2. อบรมให้ความรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติแก่พ่อแม่ผู้ปกครองและผู้ที่สนใจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ที่สนใจ 10
ผู้ปกครอง 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองและผู้ที่สนใจมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยมากขึ้นและถูกต้อง
  2. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย 3.ผู้ปกครองและผู้ที่สนใจตระหนักรู้ ในการเลี้ยงดูเด็ก และการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ปกครองให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย และสามารถกระตุ้น ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ป้องกันการเกิดโรคสมาธิสั้น
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง ร้อยละ 60 มีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้นหลังเข้ารับการอบรม (ประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม)
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
0.00

 

3 เพื่อร่วมค้นหาเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการไม่สมวัย เข้ารับการตรวจคัดกรอง รักษา และ/หรือส่งต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัย ได้รับการคัดกรองภาวะสมาธิสั้นและได้รับการคัดกรองส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ที่สนใจ 10
ผู้ปกครอง 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ปกครองให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย และสามารถกระตุ้น ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ป้องกันการเกิดโรคสมาธิสั้น (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) เพื่อร่วมค้นหาเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการไม่สมวัย เข้ารับการตรวจคัดกรอง รักษา และ/หรือส่งต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) อบรมให้ความรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติแก่พ่อแม่ผู้ปกครองและผู้ที่สนใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ป้องกันสมาธิสั้น ในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-3-00

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮัสหม๊ะ ลีแมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด