กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ บริการทางการแพทย์ตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับประชาชนผู้สูงอายุ ในกลุ่มหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ (PCU พาณิชย์, กุโบร์, ชลาทัศน์, ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง) เขตเทศบาลนครสงขลา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงให้ความรู้ ติดตาม ประมวลผลการดำเนินการ โดย คณะทำงาน จนท. อสม. แกนนำ สุขภาพ  จำนวน 4 ครั้ง มีรายละเอียดดังนี้ ครั้งที่ 1/2560 ในวันศุกร์ที่ 7 เมษายน 2560
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน x 25 เป็นเงิน 625  บาท
ครั้งที่ 2/2560 ในวันพุธที่ 28 มิถุนายน 2560 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน x 25 เป็นเงิน 625  บาท ครั้งที่ 3/2560 ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ตุลาคม 2560 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน x 25 เป็นเงิน 500  บาท ครั้งที่ 4/2560 ในวันอังคารที่ 31 ตุลาคม 2560 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน x 25 เป็นเงิน 625  บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,375 บาท (สองพันสามร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน) กิจกรรมที่ 2  สำรวจค้นหาผู้สูงอายุในชุมชน และการลงบันทึกกับการวิเคราะห์ข้อมูล กิจกรรมที่ 2.1  ค้าจ้างสำรวจ สำหรับการคัดกรองประเมินสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุกในชุมชน จำนวน 1,000 คน X 20 บาท เป็นเงิน 20,000  บาท  ตามรายละเอียดรายชื่อที่แนบท้ายใน ภาคผนวก กิจกรรมที่ 2.2 ค่าวัสดุ น้ำยา ในตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมในผู้สูงอายุ ได้แก่ CBC, FBS, Cholesterol, HDL, Creatinine,, UA, FOBT,PAP smear (เฉพาะเพศหญิง) รวมค่าวัสดุน้ำยารายละ 560 บาท ในการตรวจสุขภาพ  จำนวน 1,000 คน x 560บาท เป็นเงิน 560,000 บาท กิจกรรมที่ 2.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  สำหรับผู้สูงอายุที่มารับการตรวจ จำนวน 1,000 คน x 25บาท เป็นเงิน 25,000  บาท (ได้ใช้ไปจำนวน 894 X 25 = 22,350 บาท) กิจกรรมที่ 2.4 ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้สูงอายุที่มารับการตรวจ จำนวน 1,000 คน x 50บาท เป็นเงิน 50,000  บาท (ได้ใช้ไปจำนวน 894 X 50 = 44,700 บาท)


ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับบริการสาธารณสุขในการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 3.1 ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมโดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

 

2 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุ และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : 3.2 ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาด้านสุขภาพได้รับการตรวจรักษาและส่งต่ออย่างเหมาะสม

 

3 3. เพื่อให้ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 3.3 ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ80

 

4 4. เพื่อให้กลุ่มหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิได้จัดบริการทางด้านสุขภาพต่างๆ ให้กับผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,000
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับบริการสาธารณสุขในการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสม (2) 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุ และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง (3) 3. เพื่อให้ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐาน (4) 4. เพื่อให้กลุ่มหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิได้จัดบริการทางด้านสุขภาพต่างๆ ให้กับผู้สูงอายุในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh