กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ มีความตระหนักการคัดแยกขยะและการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (2) 2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์นำโรคติดต่อด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน หากไม่มีการแยกแยะขยะ นอกจากส่งผลให้ประชาชนที่อาศัยโดยรอบพื้นที่ชุมชนยังส่งผลคนที่ทำอาชีพที่เกี่ยวข้องกับขยะ ทำให้บุคคลเหล่านั้นมีโอกาสได้รับผลกระทบด้านสุขภาพ ตั้งแต่อาการเล็กน้อยจนสะสมในระยะยาวจนเป็นโรคที่อันตรายได้ ดังนั้นประชาชนในชุมชนควรช่วยกันแยกขยะ เพื่อช่วยกันลดปัญหาขยะในชุมชนและลดปัญหาขยะของประเทศ (3) 3. เพื่อจัดหาที่รองรับมูลฝอยป้องกันน้ำขัง เนื่องจากเดิม องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ใช้ถังขยะพลาสติกโดยไม่มีฝาปิด ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและอาจทำให้เกิดอันตรายแก่ประชาชน สัตว์ เนื่องจากหากมีฝนตกจะเกิดน้ำขังในถังขยะ ทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์นำโรคติดต่อเกิดเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นไวรัส รา แบคทีเรีย ในขยะมูลฝอยที่ตกค้าง ส่งผลให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนู ยุง แมลงสาบ และแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อโดยเชื้อโรคเหล่านี้อาจเข้าสู่ร่างกายมนุษย์จากการกินอาหารและน้ำ หรือการจับต้องด้วยมือ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยได้โดยง่าย แต่เมื่อเปลี่ยนเป็นตะแกรงเหล็กแบบแยกขยะ นอกจากป้องกันน้ำขังอันส่งผลต่อการเพาะพันธุ์นำโรคติดต่อและยังป้องกันสัตว์คุ้ยเขี่ยขยะส่งผลต่อทัศนียภาพและสิ่งแวดล้อมของชุมชน (4) 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ครัวเรือน ชุมชน รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนวังใหญ่มีสุขภาพอนามัยที่ดี และพลานามัยที่แข็งแรง รวมถึงชุมชนเข้มแข็งอีกด้วย (5) 5. เพื่อพัฒนาชุมชนวังใหญ่อย่างยั่งยืน องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ได้ทำการศึกษาหาข้อมูลเรื่องการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี โดยสำรวจแหล่งที่มาของขยะ และสาเหตุการเกิดมลพิษต่าง ๆ ซึ่งพบว่าหนึ่งในสาเหตุหลักของการเกิดมลพิษมีที่มาจากวัด เนื่องจากเมื่อมีกิจกรรมจัดในวัด ไม่ว่าจะเป็น งานศพ งานบวช หรืองานอื่น ๆ จะพบเห็นขยะจำนวนมากมายกองอยู่ในพื้นที่บริเวณวัด ไม่มีการคัดแยกขยะ ขยะอยู่ในสภาพเน่าเสีย ขวดพลาสติก ขวดแก้ววางอยู่ใต้ต้นไม้ ทำให้เกิดปัญหาในการดำเนินกำจัดขยะต่อไป รวมถึงมลพิษที่เกิดขึ้นจากการคัดแยกขยะ ปัญหาของการก่อสร้างหลุมฝังกลบขยะ คือ การหาที่ดินสำหรับการฝังกลบที่หาได้ยากในปัจจุบัน ซึ่งการจัดการฝังกลบก็ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เกิดสภาพน่ารังเกียจทั้งภายในพื้นที่ฝังกลบเอง และสภาพโดยรอบก็มีขยะปลิวกระจาย และส่งผลต่อมลพิษต่าง ๆ ที่เกิดจากการจัดการฝังกลบขยะที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ กลิ่น น้ำชะขยะที่ปนเปื้อนลงสู่น้ำใต้ดิน รวมถึงก๊าชชีวิภาพซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก ปัญหาของการกำจัดขยะโดยใช้เตาเผา คือ การไม่ยอมรับของประชาชนโดยกังวลว่าการเผาขยะ จะก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตราย โดยเฉพาะสารไดออกซิน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งที่มีความรุนแรง องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ได้เล็งเห็นปัญหาการกำจัดขยะในแบบต่าง ๆ รวมถึงการสลายขยะประเภทพลาสติกที่ต้องใช้ระยะเวลา 450 ปี ขยะประเภทพลาสติกใช้ระยะเวลา 100 ปี ดังนั้นการคัดแยกขยะจึงจำเป็นหรือเรียกได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการกำจัดขยะที่ถูกต้อง จึงมีความจำเป็นที่ควรมีตะแกรงแยกขยะในสถานที่ท่องเที่ยว วัด โรงเรียน และอาคารอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน เพื่อการบริหารจัดการขยะอย่างถูกต้อง ไม่ส่งมลพิษต่าง ๆ ไม่ว่าจะทางอากาศ ทางน้ำ และทางเดิน อันอาจจะก่ออันตรายต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำตะแกรงเหล็กแบบแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ